ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
พฤษภาคม 2560
ชื่อโครงการ ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นแนวปฏิบัติที่ต้องกระทำเพื่อการรักษาความสะอาด รวมทั้งช่วยป้องกันและลดปัญหาการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อHIV ได้ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้ จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegmaหรือขี้เปียก หากมีหนังหุ้มไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อ รวมเกิดมะเร็งที่องคชาติได้(นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร)นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย
จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ “คีตาล(ภาษาอาหรับ) หรือ “ทำสุนัต”(ภาษามลายู)มักทำกับหมอบ้าน หรือ “โต๊ะมูเด็ง”จากความเชื่อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่า “การทำกับแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่แข็งแรง”“การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน” เป็นต้นซึ่งที่ผ่านมาพบว่า การทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก(bleeding) ทำให้เกิดภาวะช็อคหรือการติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี
ดังนั้นกองสาธารสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ได้เล็งเห็นความสำคัญชองการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
- เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กและเยาวชนได้รับการทำสุนัติ สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด((bleeding)
2. เยาวชนและครอบครัว ได้ทราบถึงปัญหาและพิษภัยของโรคติดต่อโดยเฉพาะติดเชื้อทางเลือด
๓. สถาบันครอบครัวมีความเข้มแข็งในการป้องกันโรคติดเชื้อและสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริม
และป้องกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปผลการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการโดยแยกตามวัตถุประสงค์ดังนี้
๑. บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
๒. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้าน
ส่งเสริมและป้องกันโรค
1.1 สรุปผลการดำเนิน มีการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานดังนี้
แผนการดำเนินงาน กิจกรรมโครงการ ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560
วัน เดือน ปี เวลา กิจกรรม
1 มีนาคม 2560
2 – 17 มีนาคม 2560
5 เมษายน 60
๐8.30 – 09.0๐ น
09.0๐ – 09.10 น.
09.10 – 10.10 น.
๑0.1๐ – ๑2.๐๐ น.
5 – 11 เมษายน 2560
12 – 30เมษายน 2560
จัดประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย (เด็กวัยเรียนในพื้นที่)
บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
- ลงทะเบียน
- พิธีเปิดโดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
กิจกรรม ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค(วิทยากรจากชมรมพระจันทร์เสี้ยว)
- กิจกรรม ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย(Cirucumcision)
การติดตามและประเมิน เพื่อติดตามและประเมินอาการหลังการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย และความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็ก
สรุปผลการดำเนินโครงการในภาพรวม
1.2 รายชื่อเด็กที่เข้าร่วมโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามหลักปลอด
เชื้อ ปี 2560
ที่ ชื่อ-สกุล ที่อยู่ หมายเลขบัตรประจำตัว
ประชาชน
บ้านเลขที่ หมู่ที่
1 เด็กชายฟุรกอน ดอเลาะ 186/4 1 1-9494-00036-94-9
2 เด็กชายอับดุลกอฮาร เจะโมง 184/4 1 1-9494-00050-24-1
3 เด็กชายอิกรอม ดามะ 213/5 1 2-9403-00042-14-9
4 เด็กชายมุตตากีน ดอเลาะ 210/2 1 1-9494-00619-27-7
5 เด็กชายมูฮำหมัดอามีน เจ๊ะโด 200/9 1 1-9494-00040-00-3
6 เด็กชายมูฮำหมัดโซเฟีย ยามิง 200/14 1
7 เด็กชายมาลีกี หมะและ 114/1 4 1-9403-00324-22-7
8 เด็กชายมูฮัมหมัดดานิส ดอเลาะ 247/3 4 1-9488-00002-030
9 เด็กชายมูหมัดฮากีม มะเซ็ง 175/1 4 1-9403-00327-69-2
10 เด็กชายอีดิลอัฎฮา เปาะกา 123/2 4 1-9499-00612-69-8
11 เด็กชายอาดีลัน มูซอ 145/2 4 1-9494-00042-02-7
12 เด็กชายซูไฮมี เปาะแม 96/7 4 1-9494-00029-66-7
13 เด็กชายมูฮัมหมัดนาวาวี ไทรทอง 123/1 4 1-9494-00039-11-5
14 เด็กชายมูฮัมหมัดอาดีลัน แวเลาะ 206 4 1-9494-00041-27-6
15 เด็กชายมะนาวาวี สะมาแอ 107 4 1-9403-00319-57-6
16 เด็กชายมูฮัมหมัดบาดารี มะแอ 231 4 1-9504-00114-19-4
17 เด็กชายฟารอยฮัน มะดิเยาะ 38/2 4 1-9403-00318-07-3
18 เด็กชายอับดุลมาลิก แมเราะ 151 4 1-9403-00325-44-4
19 เด็กชายฮาฟีซู แปเฮาะอีแล 59 4 1-9494-00040-28-8
20 เด็กชายเจะกาเซ็ม มามะ 17/3 5 1-9403-00326-10-6
21 เด็กชายนัสรูดิง มามะ 17/4 5 1-9499-00738-29-2
22 เด็กชายบูคอรี อาแวกือจิ 102 6 1-940300325-06-1
23 เด็กชายนิฟัลฮาม เปาะกา 109 6 1-9403-00322-60-7
24 เด็กชายมูฮัมหมัดซัยฟู เจะสะแม 56/2 6 1-9499-00649-49-4
25 เด็กชายอิสติคฟาร ดือราแม 36/1 6 1-9403-00324-24-3
26 เด็กชายซัยฟุดดิน หะยีเจะเด็ง 54/1 6 1-9403-00332-39-4
27 เด็กชายอูบัยดิลละห์ หะยีเจะเด็ง 54/1 6 1-9403-00323-90-5
28 เด็กชายฟุรกรณ์ แวกาเดร์ 157/5 6 1-9402-01222-82-5
29 เด็กชายมูฮัมหมัดกอดาฟี สะรีกามา 56/1 6 1-9492-00049-66-4
30 เด็กชายอัสมาวี ยูโซะ 83 6 1-9494-00033-92-3
31 เด็กชายอัสมี อุมา 68 6 1-9403-00320-39-6
32 เด็กชายมูฮัมหมัดรุสลาน มะดีเยาะ 81 6 1-9403-00324-41-3
33 เด็กชายมูฮัมหมัดอามีน เปาะซา
75/1 6 1-9403-00322-52-6
34 เด็กชายซูฟียัน หามะ 38 6 1-9494-00046-11-1
35 เด็กชายรอกิ ยูโซะ 127 7 1-9403-00326-16-5
36 เด็กชายมะซอฟี ดอเลาะ 74/1 7 1-9499-00679-66-1
37 เด็กชายมูฮาหมัดนุดิง มะมิง 103 7 1-9499-00711-37-8
38 เด็กชายอัสวัน เดาะเลาะ 17/1 7 1-9494-00044-48-8
39 เด็กชายอาบูซานตา บอเฮาะ 131/1 7 1-9598-00230-82-3
40 เด็กชายมูฮัมหมัดซอฟา หะยีสุหลง 38 8 1-9403-00320-45-1
41 เด็กชายมูฮำหมัดฮานาฟี เจ๊ะแว 38 8 1-9494-00044-64-0
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสงค์
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม .....................123.................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...................33,750............... บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...................33,750.............. บาท คิดเป็นร้อยละ ........100.............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ........................-....................... บาท คิดเป็นร้อยละ ...........0................
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ปัญหา/อุปสรรค
- เด็กที่แจ้งชื่อในช่วงแรกไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมได้
- เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมีมากกว่าเป้าหมายที่วางไว้
แนวทางการแก้ไข
- สำรวจรายชื่อสำรองเผื่อไว้
- หางบประมาณอื่น และวางแผนการดำเนินงานร่วมกับทีมบริหารอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย
2
เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย
3
เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding) (2) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
พฤษภาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นแนวปฏิบัติที่ต้องกระทำเพื่อการรักษาความสะอาด รวมทั้งช่วยป้องกันและลดปัญหาการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อHIV ได้ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้ จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegmaหรือขี้เปียก หากมีหนังหุ้มไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อ รวมเกิดมะเร็งที่องคชาติได้(นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร)นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ “คีตาล(ภาษาอาหรับ) หรือ “ทำสุนัต”(ภาษามลายู)มักทำกับหมอบ้าน หรือ “โต๊ะมูเด็ง”จากความเชื่อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่า “การทำกับแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่แข็งแรง”“การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน” เป็นต้นซึ่งที่ผ่านมาพบว่า การทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก(bleeding) ทำให้เกิดภาวะช็อคหรือการติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี ดังนั้นกองสาธารสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ได้เล็งเห็นความสำคัญชองการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
- เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กและเยาวชนได้รับการทำสุนัติ สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด((bleeding) 2. เยาวชนและครอบครัว ได้ทราบถึงปัญหาและพิษภัยของโรคติดต่อโดยเฉพาะติดเชื้อทางเลือด ๓. สถาบันครอบครัวมีความเข้มแข็งในการป้องกันโรคติดเชื้อและสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริม และป้องกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปผลการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการโดยแยกตามวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑. บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding) ๒. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้าน ส่งเสริมและป้องกันโรค
1.1 สรุปผลการดำเนิน มีการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานดังนี้
แผนการดำเนินงาน กิจกรรมโครงการ ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560
วัน เดือน ปี เวลา กิจกรรม
1 มีนาคม 2560
2 – 17 มีนาคม 2560
5 เมษายน 60
๐8.30 – 09.0๐ น
09.0๐ – 09.10 น.
09.10 – 10.10 น.
๑0.1๐ – ๑2.๐๐ น.
5 – 11 เมษายน 2560
12 – 30เมษายน 2560
จัดประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย (เด็กวัยเรียนในพื้นที่)
บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย - ลงทะเบียน - พิธีเปิดโดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง กิจกรรม ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค(วิทยากรจากชมรมพระจันทร์เสี้ยว) - กิจกรรม ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย(Cirucumcision)
การติดตามและประเมิน เพื่อติดตามและประเมินอาการหลังการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย และความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็ก
สรุปผลการดำเนินโครงการในภาพรวม
1.2 รายชื่อเด็กที่เข้าร่วมโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามหลักปลอด
เชื้อ ปี 2560
ที่ ชื่อ-สกุล ที่อยู่ หมายเลขบัตรประจำตัว
ประชาชน
บ้านเลขที่ หมู่ที่
1 เด็กชายฟุรกอน ดอเลาะ 186/4 1 1-9494-00036-94-9
2 เด็กชายอับดุลกอฮาร เจะโมง 184/4 1 1-9494-00050-24-1
3 เด็กชายอิกรอม ดามะ 213/5 1 2-9403-00042-14-9
4 เด็กชายมุตตากีน ดอเลาะ 210/2 1 1-9494-00619-27-7
5 เด็กชายมูฮำหมัดอามีน เจ๊ะโด 200/9 1 1-9494-00040-00-3
6 เด็กชายมูฮำหมัดโซเฟีย ยามิง 200/14 1
7 เด็กชายมาลีกี หมะและ 114/1 4 1-9403-00324-22-7
8 เด็กชายมูฮัมหมัดดานิส ดอเลาะ 247/3 4 1-9488-00002-030
9 เด็กชายมูหมัดฮากีม มะเซ็ง 175/1 4 1-9403-00327-69-2
10 เด็กชายอีดิลอัฎฮา เปาะกา 123/2 4 1-9499-00612-69-8
11 เด็กชายอาดีลัน มูซอ 145/2 4 1-9494-00042-02-7
12 เด็กชายซูไฮมี เปาะแม 96/7 4 1-9494-00029-66-7
13 เด็กชายมูฮัมหมัดนาวาวี ไทรทอง 123/1 4 1-9494-00039-11-5
14 เด็กชายมูฮัมหมัดอาดีลัน แวเลาะ 206 4 1-9494-00041-27-6
15 เด็กชายมะนาวาวี สะมาแอ 107 4 1-9403-00319-57-6
16 เด็กชายมูฮัมหมัดบาดารี มะแอ 231 4 1-9504-00114-19-4
17 เด็กชายฟารอยฮัน มะดิเยาะ 38/2 4 1-9403-00318-07-3
18 เด็กชายอับดุลมาลิก แมเราะ 151 4 1-9403-00325-44-4
19 เด็กชายฮาฟีซู แปเฮาะอีแล 59 4 1-9494-00040-28-8
20 เด็กชายเจะกาเซ็ม มามะ 17/3 5 1-9403-00326-10-6
21 เด็กชายนัสรูดิง มามะ 17/4 5 1-9499-00738-29-2
22 เด็กชายบูคอรี อาแวกือจิ 102 6 1-940300325-06-1
23 เด็กชายนิฟัลฮาม เปาะกา 109 6 1-9403-00322-60-7
24 เด็กชายมูฮัมหมัดซัยฟู เจะสะแม 56/2 6 1-9499-00649-49-4
25 เด็กชายอิสติคฟาร ดือราแม 36/1 6 1-9403-00324-24-3
26 เด็กชายซัยฟุดดิน หะยีเจะเด็ง 54/1 6 1-9403-00332-39-4
27 เด็กชายอูบัยดิลละห์ หะยีเจะเด็ง 54/1 6 1-9403-00323-90-5
28 เด็กชายฟุรกรณ์ แวกาเดร์ 157/5 6 1-9402-01222-82-5
29 เด็กชายมูฮัมหมัดกอดาฟี สะรีกามา 56/1 6 1-9492-00049-66-4
30 เด็กชายอัสมาวี ยูโซะ 83 6 1-9494-00033-92-3
31 เด็กชายอัสมี อุมา 68 6 1-9403-00320-39-6
32 เด็กชายมูฮัมหมัดรุสลาน มะดีเยาะ 81 6 1-9403-00324-41-3
33 เด็กชายมูฮัมหมัดอามีน เปาะซา
75/1 6 1-9403-00322-52-6
34 เด็กชายซูฟียัน หามะ 38 6 1-9494-00046-11-1
35 เด็กชายรอกิ ยูโซะ 127 7 1-9403-00326-16-5
36 เด็กชายมะซอฟี ดอเลาะ 74/1 7 1-9499-00679-66-1
37 เด็กชายมูฮาหมัดนุดิง มะมิง 103 7 1-9499-00711-37-8
38 เด็กชายอัสวัน เดาะเลาะ 17/1 7 1-9494-00044-48-8
39 เด็กชายอาบูซานตา บอเฮาะ 131/1 7 1-9598-00230-82-3
40 เด็กชายมูฮัมหมัดซอฟา หะยีสุหลง 38 8 1-9403-00320-45-1
41 เด็กชายมูฮำหมัดฮานาฟี เจ๊ะแว 38 8 1-9494-00044-64-0
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสงค์
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม .....................123.................................... คน - การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...................33,750............... บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...................33,750.............. บาท คิดเป็นร้อยละ ........100............. งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ........................-....................... บาท คิดเป็นร้อยละ ...........0................
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ปัญหา/อุปสรรค
- เด็กที่แจ้งชื่อในช่วงแรกไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมได้ - เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมีมากกว่าเป้าหมายที่วางไว้ แนวทางการแก้ไข
- สำรวจรายชื่อสำรองเผื่อไว้ - หางบประมาณอื่น และวางแผนการดำเนินงานร่วมกับทีมบริหารอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding) ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย |
|
|||
2 | เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding) (2) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตามหลักปลอดเชื้อ ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......