โครงการหนูน้อยฟันสวย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยฟันสวย ”
ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายพีรพงค์บาลทิพย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม
มีนาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยฟันสวย
ที่อยู่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยฟันสวย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3356-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นสิ่งหนึ่งที่สำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข โดยเฉพาะในเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งมีปัญหาโรคฟันผุจากการสำรวจสภาวะช่องปากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผลจากโรคฟันผุ คือความเจ็บปวดเค้ี้ยวอาหารไม่ได้ มีการติดเชื้อที่อาจจะลุกลามไปยังอวัยวะอื่น ทั้งนี้ สาเหตุสำคัญเกิดจากเด็กไม่ได้แปลงฟันอย่างสม่ำเสมอทุกวัน และเด็กรับประทานขนมขนมหรือของหวานมากเกินไปรวมทั้งขาดความเอาใจใส่จากผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากบุตรหลานของตัวเอง ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ พัฒนาการเรียนรู้ และพัฒนาการทางด้านบุคลิกภาพในเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก ดังนั้น เพื่อให้การดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็กปฐมวัยเป็นไปอย่างถูกต้อง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง จึงจัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวย โดยเน้นการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และการอบรมให้ความรู้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองนักเรียนและยังรวมถึงการมีส่วนร่วมกับชุมชน โดยที่ผู้ปกครอง แลครูผู้ดูแลเด็ก จะได้มาวิเคราะห์ปัญหาการเกิดโรคในช่องปาก และร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนแลกเปลี่ยนความรู้ เจตคติ การปฏิบัติตนของผู้ปกครองให้เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยทั้งที่บ้าน และที่โรงเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก
- เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์
- เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
71
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก
2.ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์
3.ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก
4.เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางมีสุขอนามัยในช่องปากดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การแปรงฟันที่ถูกวิธี
วันที่ 22 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หลักการดูแลสุขภาพปากและฟันในเด็กปฐมวัย
1.การแปรงฟันวันละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ
2.ใช้ไหมขัดฟันทุกวันเพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียตามซอกฟันและร่องเหงือก ก่อนที่จะจับตัวแข็งเป็นหินปูน เพราะเมื่อหินปูนก่อตัว ต้องใช้การทำความสะอาดโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
3.รับประทานอาการที่ถูกสัดส่วน จำกัดปริมาณแป้งและน้ำตาลซึ่งจะสร้างกรดแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ เมื่อต้องรับประมานอาหารเหล่านั้น ควรรับประทานไปกับมื้ออาหารหลัก แทนที่จะเป็นอาหารว่าง เนื่องจากน้ำลายที่ถูกผลิตออกมาในปริมาณมากช่วงมื้ออาหารจะช่วยขจัดคราบอาหารออกจากปากได้
4.ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผสมฟลูออไรด์ รวมทั้งยาสีฟันด้วย
5.น้ำดื่มของเด็กควรเป็นน้ำดื่มที่ผสมฟลูออไรด์ ถ้าไม่ได้ผสมฟลูออไรด์ ทันตแพทย์หรือกุมารแพทย์อาจพิจารณาสั่งอาหารเสริมฟลูออไรด์มาให้รับประทาน
6.พาเด็กไปพบทันตแพทย์เพื่อรับการตรวจอย่างสม่ำเสมอ
71
76
2. กิจกรรมการจัดซื้อแปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก
วันที่ 22 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สอนเทคนิคการแปรงฟันให้กับเด็ก
1.ใช้ปริมาณยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ขนาดเท่าเมล็ดถั่ว และคอยดูแลไม่ให้เด็กกลืนยาสีฟัน
2.ใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงอ่อนนุ่ม โดยแปรงขึ้นลงเบาๆ ด้านในของฟันแต่ละซี่ก่อน
3.เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีคราบแบคทีเรียสะสมมากที่สุด
4.ทำความสะอาดฟันด้านนอก โดยแปรงขึ้นลงเบาๆ
5.ใช้หัวแปรงเพื่อแปรงด้านหลังของฟันหน้า
6.ต้องไม่ลืมแปรงที่ลิ้น
71
71
3. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขอนามัยในช่องปากสำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก
2. ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์
3. ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก
4. เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางมีสุขอนามัยในช่องปากดีขึ้น
71
71
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูให้การเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาตามวัยโรคฟันน้ำนมผุในเด็กเล็กนับเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งและก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งด้านสุขภาพอนามัยของเด็ก และค่าใช้จ่ายสูงเพื่อการรักษา ดังนั้นเจ้าหน้าที่ในสถานบริการของรัฐจึงควรให้ความสำคัญโดยมุ่งเน้นการให้ความรู้แก่กลุ่มผู้เลี้ยงดูเด็กหรือครอบครัวเพื่อสร้างความตระหนักและเกิดพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งให้บริการตรวจเช็คสภาพช่องปากเด็กอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งช่วยให้สามารถพบโรคฟันผุฝนระยะแรกเริ่มซึ่งสามารถรักษาได้โดยไม่ยุ่งยากกระบวนการสร้างเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพย่อมส่งผลดีในหลายๆ ด้านอย่างคุ้มค่า คือ ช่วยให้เด็กไม่ต้องทนทุกข์ทรมานจากการเจ็บปวดจากฟันผุ ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษา และสิ่งที่สำคัญเป็นการลดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การอบรมสุขอนามัยในช่องปากเด็กปฐมวัย ตามโครงการหนูน้อยฟันสวยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางทำให้ผู้ปกครองนักเรียน ครูผู้ดูแลเด็กได้รู้ว่าฟันน้ำนม ทำหน้าที่ เคี้ยวอาหารดี เพื่อการเจริญเติบโตและแข็งแรง ป้องกันฟันแท้เก ออกเสียงได้ชัดเจน ช่วยให้ใบหน้าเด็กสวยงาม สุขภาพปากและฟันสำหรับเด็กการสอนให้ดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างถูกต้องตั้งแต่เด็กเป็นการลงทุนในสุขภาพที่สามารถปันผลให้ได้ตลอดชีวิต สามารถเริ่มสร้างตัวอย่างที่ดี เช่น การดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างดีเพื่อที่จะแสดงให้เด็กเห็นว่าสุขภาพปากและฟันเป็นสิ่งที่มีค่า นอกจากนี้ อะไรก็ตามที่ช่วยให้เด็กรู้สึกว่าการดูแลสุขภาพปากและฟันเป็นเรื่องสนุก เช่น การแปรงฟันไปกับลูก การให้เด็กเลือกแปรงสีฟันด้วยตนเอง ก็จะช่วยให้สนับสนุนการดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างเหมาะสมกับเด็กได้เพื่อช่วยให้เด็กปกป้องฟันและเหงือก และลดโอกาสการเกิดฟันผุ
หลักการดูแลสุขภาพปากและฟันในเด็กปฐมวัย
๑. การแปรงฟันวันละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ
๒. ใช้ไหมขัดฟันทุกวันเพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียตามซอกฟันและร่องเหงือก ก่อนที่จะจับตัวแข็งเป็นหินปูน เพราะเมื่อหินปูนก่อตัว ต้องใช้การทำความสะอาดโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
๓. รับประทานอาการที่ถูกสัดส่วน จำกัดปริมาณแป้งและน้ำตาลซึ่งจะสร้างกรดแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ เมื่อต้องรับประมานอาหารเหล่านั้น ควรรับประทานไปกับมื้ออาหารหลัก แทนที่จะเป็นอาหารว่าง เนื่องจากน้ำลายที่ถูกผลิตออกมาในปริมาณมากช่วงมื้ออาหารจะช่วยขจัดคราบอาหารออกจากปากได้
๔. ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผสมฟลูออไรด์ รวมทั้งยาสีฟันด้วย
๕. น้ำดื่มของเด็กควรเป็นน้ำดื่มที่ผสมฟลูออไรด์ ถ้าไม่ได้ผสมฟลูออไรด์ ทันตแพทย์หรือกุมารแพทย์อาจพิจารณาสั่งอาหารเสริมฟลูออไรด์มาให้รับประทาน
๖. พาเด็กไปพบทันตแพทย์เพื่อรับการตรวจอย่างสม่ำเสมอ
สอนเทคนิคการแปรงฟันให้กับเด็ก
๑. ใช้ปริมาณยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ขนาดเท่าเมล็ดถั่ว และคอยดูแลไม่ให้เด็กกลืนยาสีฟัน
๒. ใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงอ่อนนุ่ม โดยแปรงขึ้นลงเบาๆ ด้านในของฟันแต่ละซี่ก่อน
๓. เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีคราบแบคทีเรียสะสมมากที่สุด
๔. ทำความสะอาดฟันด้านนอก โดยแปรงขึ้นลงเบาๆ
๕. ใช้หัวแปรงเพื่อแปรงด้านหลังของฟันหน้า
๖. ต้องไม่ลืมแปรงที่ลิ้น
อาหารมีความสำคัญต่อสุขภาพปากและฟันของเด็ก
อาหารที่ถูกสัดส่วนมีความสำคัญต่อการที่ฟันของเด็กจะพัฒนาอย่างแข็งแรงและสามารถต้านทานฟันผุ นอกจากการรับประทานวิตามินและแร่ธาตุทุกชนิดแล้ว อาหารของเด็กควรจะมีแคลเซี่ยม ฟอสฟอรัสในปริมาณมาก และฟลูออไรด์ในระดับที่เหมาะสม การรับประทานอาหารว่างบ่อยครั้งก็เป็นศัตรูที่สำคัญที่สุด แป้งและน้ำตาลที่พบในอาหารว่างหลายๆ ชนิด เช่น คุกกี้ ลูกอม ผลไม้แห้ง น้ำอัดลม มันฝรั่งทอดกรอบ เมื่อมารวมตัวกับคราบแบคทีเรียก็จะทำให้เกิดกรดซึ่งจะทำลายสารเคลือบฟันและนำไปสู่ฟันผุได้
๒. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๗1 คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 15,560 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 15,560 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..................-................. บาท คิดเป็นร้อยละ ….......-...........
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
• มี
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ร้อยละ 80 ได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก
2
เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : กิจกรรมการจัดซื้อแปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก
3
เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก
ตัวชี้วัด : กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขอนามัยในช่องปากสำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
71
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
71
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก (2) เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยฟันสวย จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพีรพงค์บาลทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยฟันสวย ”
ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายพีรพงค์บาลทิพย์
มีนาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยฟันสวย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3356-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นสิ่งหนึ่งที่สำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข โดยเฉพาะในเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งมีปัญหาโรคฟันผุจากการสำรวจสภาวะช่องปากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผลจากโรคฟันผุ คือความเจ็บปวดเค้ี้ยวอาหารไม่ได้ มีการติดเชื้อที่อาจจะลุกลามไปยังอวัยวะอื่น ทั้งนี้ สาเหตุสำคัญเกิดจากเด็กไม่ได้แปลงฟันอย่างสม่ำเสมอทุกวัน และเด็กรับประทานขนมขนมหรือของหวานมากเกินไปรวมทั้งขาดความเอาใจใส่จากผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากบุตรหลานของตัวเอง ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ พัฒนาการเรียนรู้ และพัฒนาการทางด้านบุคลิกภาพในเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก ดังนั้น เพื่อให้การดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็กปฐมวัยเป็นไปอย่างถูกต้อง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง จึงจัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวย โดยเน้นการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และการอบรมให้ความรู้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองนักเรียนและยังรวมถึงการมีส่วนร่วมกับชุมชน โดยที่ผู้ปกครอง แลครูผู้ดูแลเด็ก จะได้มาวิเคราะห์ปัญหาการเกิดโรคในช่องปาก และร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนแลกเปลี่ยนความรู้ เจตคติ การปฏิบัติตนของผู้ปกครองให้เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัยทั้งที่บ้าน และที่โรงเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก
- เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์
- เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 71 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก 2.ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ 3.ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก 4.เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางมีสุขอนามัยในช่องปากดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การแปรงฟันที่ถูกวิธี |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลักการดูแลสุขภาพปากและฟันในเด็กปฐมวัย 1.การแปรงฟันวันละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ 2.ใช้ไหมขัดฟันทุกวันเพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียตามซอกฟันและร่องเหงือก ก่อนที่จะจับตัวแข็งเป็นหินปูน เพราะเมื่อหินปูนก่อตัว ต้องใช้การทำความสะอาดโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น 3.รับประทานอาการที่ถูกสัดส่วน จำกัดปริมาณแป้งและน้ำตาลซึ่งจะสร้างกรดแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ เมื่อต้องรับประมานอาหารเหล่านั้น ควรรับประทานไปกับมื้ออาหารหลัก แทนที่จะเป็นอาหารว่าง เนื่องจากน้ำลายที่ถูกผลิตออกมาในปริมาณมากช่วงมื้ออาหารจะช่วยขจัดคราบอาหารออกจากปากได้ 4.ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผสมฟลูออไรด์ รวมทั้งยาสีฟันด้วย 5.น้ำดื่มของเด็กควรเป็นน้ำดื่มที่ผสมฟลูออไรด์ ถ้าไม่ได้ผสมฟลูออไรด์ ทันตแพทย์หรือกุมารแพทย์อาจพิจารณาสั่งอาหารเสริมฟลูออไรด์มาให้รับประทาน 6.พาเด็กไปพบทันตแพทย์เพื่อรับการตรวจอย่างสม่ำเสมอ
|
71 | 76 |
2. กิจกรรมการจัดซื้อแปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสอนเทคนิคการแปรงฟันให้กับเด็ก
|
71 | 71 |
3. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขอนามัยในช่องปากสำหรับเด็กปฐมวัย |
||
วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก
|
71 | 71 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูให้การเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาตามวัยโรคฟันน้ำนมผุในเด็กเล็กนับเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งและก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งด้านสุขภาพอนามัยของเด็ก และค่าใช้จ่ายสูงเพื่อการรักษา ดังนั้นเจ้าหน้าที่ในสถานบริการของรัฐจึงควรให้ความสำคัญโดยมุ่งเน้นการให้ความรู้แก่กลุ่มผู้เลี้ยงดูเด็กหรือครอบครัวเพื่อสร้างความตระหนักและเกิดพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งให้บริการตรวจเช็คสภาพช่องปากเด็กอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งช่วยให้สามารถพบโรคฟันผุฝนระยะแรกเริ่มซึ่งสามารถรักษาได้โดยไม่ยุ่งยากกระบวนการสร้างเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพย่อมส่งผลดีในหลายๆ ด้านอย่างคุ้มค่า คือ ช่วยให้เด็กไม่ต้องทนทุกข์ทรมานจากการเจ็บปวดจากฟันผุ ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษา และสิ่งที่สำคัญเป็นการลดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การอบรมสุขอนามัยในช่องปากเด็กปฐมวัย ตามโครงการหนูน้อยฟันสวยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางทำให้ผู้ปกครองนักเรียน ครูผู้ดูแลเด็กได้รู้ว่าฟันน้ำนม ทำหน้าที่ เคี้ยวอาหารดี เพื่อการเจริญเติบโตและแข็งแรง ป้องกันฟันแท้เก ออกเสียงได้ชัดเจน ช่วยให้ใบหน้าเด็กสวยงาม สุขภาพปากและฟันสำหรับเด็กการสอนให้ดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างถูกต้องตั้งแต่เด็กเป็นการลงทุนในสุขภาพที่สามารถปันผลให้ได้ตลอดชีวิต สามารถเริ่มสร้างตัวอย่างที่ดี เช่น การดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างดีเพื่อที่จะแสดงให้เด็กเห็นว่าสุขภาพปากและฟันเป็นสิ่งที่มีค่า นอกจากนี้ อะไรก็ตามที่ช่วยให้เด็กรู้สึกว่าการดูแลสุขภาพปากและฟันเป็นเรื่องสนุก เช่น การแปรงฟันไปกับลูก การให้เด็กเลือกแปรงสีฟันด้วยตนเอง ก็จะช่วยให้สนับสนุนการดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างเหมาะสมกับเด็กได้เพื่อช่วยให้เด็กปกป้องฟันและเหงือก และลดโอกาสการเกิดฟันผุ
หลักการดูแลสุขภาพปากและฟันในเด็กปฐมวัย
๑. การแปรงฟันวันละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ
๒. ใช้ไหมขัดฟันทุกวันเพื่อกำจัดคราบแบคทีเรียตามซอกฟันและร่องเหงือก ก่อนที่จะจับตัวแข็งเป็นหินปูน เพราะเมื่อหินปูนก่อตัว ต้องใช้การทำความสะอาดโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
๓. รับประทานอาการที่ถูกสัดส่วน จำกัดปริมาณแป้งและน้ำตาลซึ่งจะสร้างกรดแบคทีเรียที่ทำให้เกิดฟันผุ เมื่อต้องรับประมานอาหารเหล่านั้น ควรรับประทานไปกับมื้ออาหารหลัก แทนที่จะเป็นอาหารว่าง เนื่องจากน้ำลายที่ถูกผลิตออกมาในปริมาณมากช่วงมื้ออาหารจะช่วยขจัดคราบอาหารออกจากปากได้
๔. ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผสมฟลูออไรด์ รวมทั้งยาสีฟันด้วย
๕. น้ำดื่มของเด็กควรเป็นน้ำดื่มที่ผสมฟลูออไรด์ ถ้าไม่ได้ผสมฟลูออไรด์ ทันตแพทย์หรือกุมารแพทย์อาจพิจารณาสั่งอาหารเสริมฟลูออไรด์มาให้รับประทาน
๖. พาเด็กไปพบทันตแพทย์เพื่อรับการตรวจอย่างสม่ำเสมอ
สอนเทคนิคการแปรงฟันให้กับเด็ก
๑. ใช้ปริมาณยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ขนาดเท่าเมล็ดถั่ว และคอยดูแลไม่ให้เด็กกลืนยาสีฟัน
๒. ใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงอ่อนนุ่ม โดยแปรงขึ้นลงเบาๆ ด้านในของฟันแต่ละซี่ก่อน
๓. เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีคราบแบคทีเรียสะสมมากที่สุด
๔. ทำความสะอาดฟันด้านนอก โดยแปรงขึ้นลงเบาๆ
๕. ใช้หัวแปรงเพื่อแปรงด้านหลังของฟันหน้า
๖. ต้องไม่ลืมแปรงที่ลิ้น
อาหารมีความสำคัญต่อสุขภาพปากและฟันของเด็ก
อาหารที่ถูกสัดส่วนมีความสำคัญต่อการที่ฟันของเด็กจะพัฒนาอย่างแข็งแรงและสามารถต้านทานฟันผุ นอกจากการรับประทานวิตามินและแร่ธาตุทุกชนิดแล้ว อาหารของเด็กควรจะมีแคลเซี่ยม ฟอสฟอรัสในปริมาณมาก และฟลูออไรด์ในระดับที่เหมาะสม การรับประทานอาหารว่างบ่อยครั้งก็เป็นศัตรูที่สำคัญที่สุด แป้งและน้ำตาลที่พบในอาหารว่างหลายๆ ชนิด เช่น คุกกี้ ลูกอม ผลไม้แห้ง น้ำอัดลม มันฝรั่งทอดกรอบ เมื่อมารวมตัวกับคราบแบคทีเรียก็จะทำให้เกิดกรดซึ่งจะทำลายสารเคลือบฟันและนำไปสู่ฟันผุได้
๒. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๗1 คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 15,560 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 15,560 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..................-................. บาท คิดเป็นร้อยละ ….......-...........
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
• มี
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ร้อยละ 80 ได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ ตัวชี้วัด : กิจกรรมการจัดซื้อแปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก ตัวชี้วัด : กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขอนามัยในช่องปากสำหรับเด็กปฐมวัย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 71 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 71 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพปากและสุขภาพทั่วไปของเด็ก (2) เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองรู้วิธีการดูแลสุขอนามัยในช่องปากเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยฟันสวย จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพีรพงค์บาลทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......