โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ”
ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาหามะฮะตะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ
เมษายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ที่อยู่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4157-2-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4157-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลไว้ในส่วนที่ 3 มาตรา 50 (4) คือป้องกันและระงับโรคติดต่อและพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ตามมาตรา 16 (19) คือ การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องตายทุกคน ซึ่งโรคนี้จะมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว หมู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้่อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้ และสัตว์ที่เป็นโรคก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้ โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน ของทุกปี โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดีคือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัด หรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เสี้ยง เช่น สุนัข แมว แลเะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าสัตว์ถูกกัดต้องรีบทำความสะอาดบาดแผลและไปพบแพทย์เพื่อทำการฉีดวัคซีนทันที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อทำให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครอบคลุมทุกพื้นที่และมีการดำเนินงานต่อเนื่องทุกปี
- 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ
- 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายของโรคพิษสุนัขบ้า การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสุนัขกัด การปฏิบัติตนหลังจากถูกสุนัขกัด
- 4.เพื่อให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษุสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/จับแมวจรจัดส่งศูนย์กักกันสัตว์/จ้างเหมาบุคคลจับกุมแมวจรจัด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค(ถูกสัตว์กัด)
2.สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.จำนวนสุนัข-แมวที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่ลดลงหรือหมดไป
4.ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลทุกหมู่บ้านมีแกนนำอาสาสมัครฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษุสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/จับแมวจรจัดส่งศูนย์กักกันสัตว์/จ้างเหมาบุคคลจับกุมแมวจรจัด
วันที่ 19 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ให้ความรู้เรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า/อบรมอาสาฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
2.ให้บริากรฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค (ถูกสัตว์กัด)
2.สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.จำนวนสุนัขที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่ลดลงหรือหมดไป
4.ในพื้นที่ตำบลจะกว๊ะทุกหมู่บ้านมีแกนนำอาสาสมัครฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อทำให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครอบคลุมทุกพื้นที่และมีการดำเนินงานต่อเนื่องทุกปี
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายของโรคพิษสุนัขบ้า การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสุนัขกัด การปฏิบัติตนหลังจากถูกสุนัขกัด
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4.เพื่อให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อทำให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครอบคลุมทุกพื้นที่และมีการดำเนินงานต่อเนื่องทุกปี (2) 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ (3) 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายของโรคพิษสุนัขบ้า การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสุนัขกัด การปฏิบัติตนหลังจากถูกสุนัขกัด (4) 4.เพื่อให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษุสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/จับแมวจรจัดส่งศูนย์กักกันสัตว์/จ้างเหมาบุคคลจับกุมแมวจรจัด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4157-2-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอาหามะฮะตะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ”
ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาหามะฮะตะมะ
เมษายน 2561
ที่อยู่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4157-2-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4157-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลไว้ในส่วนที่ 3 มาตรา 50 (4) คือป้องกันและระงับโรคติดต่อและพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ตามมาตรา 16 (19) คือ การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องตายทุกคน ซึ่งโรคนี้จะมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว หมู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้่อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้ และสัตว์ที่เป็นโรคก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้ โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน ของทุกปี โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดีคือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัด หรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เสี้ยง เช่น สุนัข แมว แลเะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าสัตว์ถูกกัดต้องรีบทำความสะอาดบาดแผลและไปพบแพทย์เพื่อทำการฉีดวัคซีนทันที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อทำให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครอบคลุมทุกพื้นที่และมีการดำเนินงานต่อเนื่องทุกปี
- 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ
- 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายของโรคพิษสุนัขบ้า การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสุนัขกัด การปฏิบัติตนหลังจากถูกสุนัขกัด
- 4.เพื่อให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษุสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/จับแมวจรจัดส่งศูนย์กักกันสัตว์/จ้างเหมาบุคคลจับกุมแมวจรจัด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค(ถูกสัตว์กัด) 2.สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.จำนวนสุนัข-แมวที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่ลดลงหรือหมดไป 4.ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลทุกหมู่บ้านมีแกนนำอาสาสมัครฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษุสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/จับแมวจรจัดส่งศูนย์กักกันสัตว์/จ้างเหมาบุคคลจับกุมแมวจรจัด |
||
วันที่ 19 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.ให้ความรู้เรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า/อบรมอาสาฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 2.ให้บริากรฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อสัมผัสโรค (ถูกสัตว์กัด) 2.สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.จำนวนสุนัขที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่ลดลงหรือหมดไป 4.ในพื้นที่ตำบลจะกว๊ะทุกหมู่บ้านมีแกนนำอาสาสมัครฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อทำให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครอบคลุมทุกพื้นที่และมีการดำเนินงานต่อเนื่องทุกปี ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายของโรคพิษสุนัขบ้า การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสุนัขกัด การปฏิบัติตนหลังจากถูกสุนัขกัด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อทำให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครอบคลุมทุกพื้นที่และมีการดำเนินงานต่อเนื่องทุกปี (2) 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ (3) 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายของโรคพิษสุนัขบ้า การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสุนัขกัด การปฏิบัติตนหลังจากถูกสุนัขกัด (4) 4.เพื่อให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษุสุนัขบ้าและฮอร์โมนคุมกำเนิด/ทำหมัน/จับแมวจรจัดส่งศูนย์กักกันสัตว์/จ้างเหมาบุคคลจับกุมแมวจรจัด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4157-2-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอาหามะฮะตะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......