กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ


“ โครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุุกชีวีมีสุข ตำบลจะกว๊ะ ”

ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอฮานิงดะมะ

ชื่อโครงการ โครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุุกชีวีมีสุข ตำบลจะกว๊ะ

ที่อยู่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 เมษายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุุกชีวีมีสุข ตำบลจะกว๊ะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุุกชีวีมีสุข ตำบลจะกว๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุุกชีวีมีสุข ตำบลจะกว๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 เมษายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาสุขภาพอนามัยคือการที่ประชาชนมีสุขภาพดี ทั้งทางด้านร่่างกายจิตใจและสังคม โดยนอกจากชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะกว๊ะต้องมีบทบาทหน้าที่ในด้านการส่งเสริมป้องกันรักษาและฟื้นฟูสุขภาพแล้ว ประชาชนเริ่มตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชนและภาคประชาสังคมต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวชุมชนของตนเอง และสามารถจัดการการดูแลสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและสังคม ให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีและเป็นสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุขจากการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะกว๊ะ พบว่าปัญหาที่สำคัญ เรียงตามลำดับได้แก่ 1.โรคไม่่ติดต่อเรื่้อรัง ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจหลอดเลือดและหลอดเลือดสมอง โดยพบโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เข้ารับการรักษาเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มสูงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยอีกกว่าร้อยละ 60 ที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะกว๊ะได้ตระหนึกถึงปัญหาดังกล่าว ล้วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและพฤติกรรมของประชาชนซึ่งจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ด้วยการจัดระบบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในทุกกลุ่มวัย โดยเริ่่มต้นจากการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกคน ครอบครัวและชุมชนทุกภาคส่วน ภายใต้แนวคิดตำบลจัดการสุขภาพที่ดี ด้วยการพัฒนาศักยภาพตำบลจัดการสุขภาพ ในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวได้อย่างเป็นรูปธรรมด้วยการจัดการของชุมชนเอง ดังนั้นเครือข่ายสุขภาพตำบลจะกว๊ะ จึงได้จัดทำโครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุกชีวีมีสุขตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ปี 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่่อสร้างและพัฒนาศักยภาพทีมงานตำบลจัดการสุขภาพในการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพอย่างเป็นระบบ
  2. 2.เพื่อคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและส่งต่อเพื่อการแก้ไขปัญหาและรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. 3.เพื่อสร้างระบบและกลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและแก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่โดยชุมชนภายใต้ตำบลจัดการสุขภาพ
  4. 4.เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและลดอัตราเกิดโรคไม่ติดต่อเรื่้อรัง โรคติตต่อและปัญหาสุขภาพในพื้นที่ โดยบูรณาการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ทีมตำบลจัดการสุขภาพและประชาชนที่สนใจ พร้อมจัดจุดรับข่าวสารตำบลจัดการสุขภาพเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 290
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีสุขภาพดี ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีเครือข่่ายสุขภาพระหว่างเจ้าหน้าที่และประชาชน และที่สำคัญมีความสามัคคีในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบในพื้นที่ตำบลจะกว๊ะ จำนวนเป้าหมายทั้งหมด 290 คน ในการดำเนินกิจกรรมมีผู้เข้าร่วมอบรมตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุกชีวีมีสุข จำนวน 290 คน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ เนื่องจากผู้เข้ารับการอบรมให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่่อสร้างและพัฒนาศักยภาพทีมงานตำบลจัดการสุขภาพในการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ทีมงานตำบลจัดการสุขภาพในการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพ
0.00

 

2 2.เพื่อคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและส่งต่อเพื่อการแก้ไขปัญหาและรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุุ่มเสี่ยงในกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
0.00

 

3 3.เพื่อสร้างระบบและกลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและแก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่โดยชุมชนภายใต้ตำบลจัดการสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มีระบบและกลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค
0.00

 

4 4.เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและลดอัตราเกิดโรคไม่ติดต่อเรื่้อรัง โรคติตต่อและปัญหาสุขภาพในพื้นที่ โดยบูรณาการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีสุขภาพดีและลดอัตราการเกิดโรค
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 290
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 290
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่่อสร้างและพัฒนาศักยภาพทีมงานตำบลจัดการสุขภาพในการบริหารจัดการปัญหาสุขภาพอย่างเป็นระบบ (2) 2.เพื่อคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและส่งต่อเพื่อการแก้ไขปัญหาและรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) 3.เพื่อสร้างระบบและกลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและแก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่โดยชุมชนภายใต้ตำบลจัดการสุขภาพ (4) 4.เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและลดอัตราเกิดโรคไม่ติดต่อเรื่้อรัง โรคติตต่อและปัญหาสุขภาพในพื้นที่ โดยบูรณาการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ทีมตำบลจัดการสุขภาพและประชาชนที่สนใจ พร้อมจัดจุดรับข่าวสารตำบลจัดการสุขภาพเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ สุขภาพดีทุุกชีวีมีสุข ตำบลจะกว๊ะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอฮานิงดะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด