กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชนทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางลักษณาหวัดเพ็ชร หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชนทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชนทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชนทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชนทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,975.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นแนวคิดด้านสุขภาพที่มองบุคคลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจวิญญาณและสังคม ที่มีความเชื่อมโยงเป็นเป็นหนึ่งเดียวกันหน่วยบริการปฐมภูมิศูนย์บริการสุขภาพชุมชนใจกลางเมือง กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.สงขลา เป็นหน่วยงานให้บริการสุขภาพชุมชน ๔ มิติ แบบองค์รวม ในพื้นที่๖ชุมชน ได้แก่ ชุมชนบ้านบน , ชุมชนมัสยิดบ้านบน , ชุมชนเมืองเก่า , ชุมชนสานฝัน , ชุมชนสวนหมาก และชุมชนดอนรัก รับผิดชอบประชากรจำนวน ๘,๔๔๒ คน จำนวน ๓,๔๐๙ หลังคาเรือน มีโรงเรียนในความรับผิดชอบ ๓ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนหวังดีโรงเรียนสตรีวชิรานุกูลและโรงเรียนวรนารีเฉลิมมีวัดรับผิดชอบจำนวน๔ วัด คือวัดโพธิ์ปฐมาวาสวัดดอนแย้วัดเลียบวัดยางทองรวมทั้ง ๑ มัสยิดในชุมชนมัสยิดบ้านบน ข้อมูลปี ๒๕๖๐ พบว่าประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปจำนวน ๓,๖๘๗ คน ได้รับคัดกรองสุขภาพจำนวน ๓,๓๒๐คนคิดเป็น๙๐.๐๔% พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง คิดเป็น ๑๐.๒๘%มีผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน ๑,๒๓๑คน มารับบริการที่คลินิกโรคเรื้อรังศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จำนวน ๒๖ คนคิดเป็น ๒.๑๒ %หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดจำนวน ๑๘ คน ได้รับการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ จำนวน ๑๐คนคิดเป็น ๕๕.๕๕ % เด็ก ๐-๓ ปี จำนวน ๑๑๗คน ได้รับวัคซีนตามมาตรฐานจำนวน ๑๑๖ คน คิดเป็น๙๙.๑๔ %มีภาวะน้ำหนัก√น้อยต่ำกว่าเกณฑ์ ๑๐ คน คิดเป็น ๐.๘ %มีผู้สูงอายุ จำนวน ๑,๙๐๘ คน มีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน ๑๖ คน คิดเป็น ๑๘.๒ ต่อแสนประชาชน จากปัญหาข้อมูลดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการที่จะดูแลส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเชิงรุกสู่ชุมชนขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
  2. ๒. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
  3. ๓. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
  4. ๔. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 26
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลและพึ่งตนเองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ ๑ งานภาคประชาชน กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดมความคิดเห็นในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาในชุมชน จำนวน ๔ ครั้ง ดังนี้     ครั้งที่ ๑. วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑     ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๑     ครั้งที่ ๓. วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑     ครั้งที่ ๔. วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๑
    กิจกรรมที่ ๒ งานอนามัยแม่และเด็ก ๒.๑ กิจกรรมอบรมการส่งเสริมความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ๐-๓ ปี จัดกิจกรรมวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ ที่ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลาผู้เข้าอบรมจำนวน๒๐คน ประเมินความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแล ระดับคะแนนความรู้ ร้อยละ ก่อนอบรม ๖๗ หลังอบรม ๘๔ ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความรู้ก่อนอบรม(เฉลี่ย๖.๗คน)ในการดูแลเด็กในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนที่ควรได้รับตามช่วงวัยและมีความรู้ในเรื่องดังกล่าวเพิ่มขึ้นหลังอบรม(เฉลี่ย๙.๔คน) 2.2 ความรู้ที่ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ยังพร่องได้แก่เรื่องพัฒนาการในวัยแรกเกิด ภาวะซีดและอาหารเสริมธาตุเหล็ก จากประเด็นดังกล่าวนี้ผู้รับผิดชอบโครงการจะได้นำมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาทักษะในการให้ความรู้ต่อไป สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของการอบรม หัวข้อประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ ๑.เนื้อหาและหลักสูตรในการอบรม ๑๔ ๗๐ ๖ ๓๐ ๐ ๐ ๒.ความรู้ความสามารถของวิทยากร ๑๕ ๗๕ ๕ ๒๕ ๐ ๐ ๓.ระยะเวลาในการอบรม ๑๗ ๘๕ ๓ ๑๕ ๐ ๐ ๔.ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ๑๙ ๙๕ ๑ ๕ ๐ ๐ ๕.ความพอใจโดยภาพรวม ๑๘ ๙๐ ๒ ๑๐ ๐ ๐       ค่าเฉลี่ย ๘๓ ๑๗

    ๒.๓ กิจกรรมติดตามเด็ก ๐-๓ ปี ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์โดยเจ้าหน้าที่ จิตอาสา.แกนนำสุขภาพ จำนวน ๑๐ คน ติดตามทุก ๑ เดือน จำนวน ๓ เดือน       ติดตามครั้งที่ ๑.เดือนกรกฎาคม       ติดตามครั้งที่ ๒.เดือนสิงหาคม       ติดตามครั้งที่ ๓.เดือนกันยายน     จากการติดตามทั้ง ๓ ครั้ง กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีน้ำหนักดังนี้         เด็กน้ำหนัก เพิ่มขึ้น จำนวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐         เด็กน้ำหนัก คงเดิม จำนวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐         เด็กน้ำหนัก น้อยลง จำนวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐ (คลอดก่อนกำหนด) กิจกรรมที่ ๓ งานวัยเรียน/วัยรุ่น กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู/นักเรียนโรงเรียนหวังดีเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการตั้งครรภ์วัยเรียน จัดกิจกรรมวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ที่ห้องประชุมโรงเรียนหวังดีมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน ๖๐ คน กิจกรรมที่ ๔ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ ๔.๑ กิจกรรมคัดกรองสุขภาพและให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอสม.แกนนำแต่ละชุมชนจำนวน ๑๐ คน จัดกิจกรรมในวันที่ ๒๘ เมษายน – ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ คัดกรองได้ ๓๗๓ คน ๔.๒ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในชุมชน จำนวน ๑๘๐ คน เริ่มกิจกรรมตั้งแต่วันที่ ๑๗ – ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๑
      ผลลัพธ์   สตรีอายุ ๓๐ -๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ร้อยละ ๙๕๓๖   สตรีอายุ ๓๐ -๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๑๖.๖๔ ๔.๓ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ ติดตาม จำนวน ๓ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๒. วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๓. วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๑   ผลลัพธ์   กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ร้อยละ ๘๙.๕๙   กลุ่มเสี่ยงสูงเป็นผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ ร้อยละ ๒.๑๔ ๔.๔ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๓ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑
          ครั้งที่ ๒. วันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๓. วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๑ ๔.๕ กิจกรรม SHG ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ๖ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๓. วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๔. วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๕. วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๖. วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ ๔.๖ กิจกรรมเฝ้าระวังประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน จำนวน ๑๒๐ คน เริ่มกิจกรรมตั้งแต่วันที่  ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๑ ถึงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑
    ๔.๗ กิจกรรมค้นหาและเยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ในชุมชนโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอสม.แกนนำแต่ละชุมชนจำนวน ๒๐ คน จัดกิจกรรมในวันที่ ๗ – ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑
      กิจกรรมที่ ๕ งานผู้สูงอายุ ๕.๑ กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุที่จัดเป็นประจำเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของสมาชิก แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ การให้ความรู้ด้านสุขภาพ กิจกรรมสันทนาการ กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน ๔ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๓. วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๑       ครั้งที่ ๔. วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ กิจกรรมที่ ๖ งานคุ้มครองผู้บริโภค     กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหารโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอสม.แกนนำแต่ละชุมชนจำนวน ๖ คน จัดกิจกรรมในวันที่ ๒๕ –๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑
    กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร จำนวนร้านอาหารทั้งหมด จำนวนร้านอาหารที่ได้รับการประเมิน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ หมายเหตุ ๑๒๘ ๓๐ ๒๓.๔๓ ๓๐ ๑๐๐ ผ่านเกณฑ์ได้รับป้ายGFGT

    กิจกรรมที่ ๗ งานควบคุมโรคติดต่อ     กิจกรรมสำรวจ/กำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชน จัดกิจกรรมวันที่ ๒๐ กรกฎาคม๒๕๖๑ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ๑๐๐ คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
    ตัวชี้วัด : -ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน -ร้อยละ ๙๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปี มีภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย -ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการได้รับการรักษา ส่งต่อ
    0.00

     

    2 ๒. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๑๐ จากค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง -โรงเรียน/ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ ๘๕
    0.00

     

    3 ๓. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : -ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ -กลุ่มโรคเรื้อรังเบาหวานความดันที่รับการรักษาที่PCU ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคร้อยละ ๙๐ -ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าร้อยละ ๕ -ร้อยละ ๘๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ -ร้อยละ ๒๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
    0.00

     

    4 ๔. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : -ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ ๗๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 256
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 26
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย (2) ๒. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3) ๓. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (4) ๔. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชนทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-1-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางลักษณาหวัดเพ็ชร หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด