กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูทักษะแกนำสตรีในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอำรัน สะอะ




ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูทักษะแกนำสตรีในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-l2490-1-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟื้นฟูทักษะแกนำสตรีในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูทักษะแกนำสตรีในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟื้นฟูทักษะแกนำสตรีในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-l2490-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบบ่อยเป็นอันดับต้นๆ ของสตรีไทย มีอุบัติการณ์ปรับตามมาตรฐานอายุ (age standardized rate) เท่ากับ 19.5 ต่อประชากร 100,000 คนต่อปี เป็นโรคที่มีการดำเนินโรคช้าใช้เวลานาน มีการตรวจคัดกรองโรคที่ง่ายแพร่หลายและการรักษาได้ผลดี แต่ก็ยังมีสตรีไทยต้องเสียชีวิตจากมะเร็งชนิดนี้ทุกปี ด้วยอัตรา 10.8 ต่อประชากร 100,000 คนต่อปี เนื่องจากโรคไม่ได้ถูกตรวจพบตั้งแต่ระยะแรกที่เซลล์เริ่มเปลี่ยนแปลง หรือระยะก่อนเป็นมะเร็งการตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำPapsmearหรือVIA (VisualInspectionofcervixwithAceticacid) และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบ
ปีงบประมาณ๒๕๕๗สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีPapsmearและVIA ในสตรีไทยอายุ๓๐-๖๐ปีกำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี ๓๐-๖๐ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ๒๕๕๘-๒๕๖๒ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลาอำเภอเมืองนราธิวาสพบว่าหญิงวัยเจริญพันธุ์กลุ่มเป้าหมายอายุ๓๐ -๖๐ปี จำนวน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๕๙ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๘๙ดังนั้นการให้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องตลอดจนการสร้างพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องเร่งดำเนินการ ซึ่งรวมไปถึงความพร้อมและศักยภาพในการให้บริการในระดับต่าง ๆของสถานบริการสาธารณสุขและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลา ร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลกะลุวอจึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูทักษะแกนนำสตรีในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมขึ้น เพื่อติดตามและค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการในระยะเริ่มแรกและสามารถให้การรักษาได้ทันเวลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. แกนนำกลุ่มสตรีมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมเเละมะเร็งปากมดลูกได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้เเกนนำกลุ่มสตรีติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุ 30-70 ปี มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-60 ปี มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำสตรีสามรถให้ความรู้ ความเข้าใจเเละคำเเนะนำในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม เเละมะเร็งปากมดลูก
  4. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เเละทัศนคติที่ดีต่อการบริการตรวจค้นหามะเร็งเต้านม เเละมะเร็งปากมดลูก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 711
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 711
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ - ๖๐ ปีในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ๒๐

    ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ความสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง ร้อยละ ๘๐

    ๓. แกนนำสตรีมีความรู้สามารถแนะนำเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง

    ๔. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังและติดตามมาตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอทุก ๕ปี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 แกนนำกลุ่มสตรีมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมเเละมะเร็งปากมดลูกได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : จำนวนสตรีที่ที่อยู่ในช่วงวัยเจริญพันธุ์อายุ 30-70 ปี เพิ่มขึ่น

     

    2 เพื่อให้เเกนนำกลุ่มสตรีติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุ 30-70 ปี มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-60 ปี มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : จำนวนสตรีที่ที่อยู่ในช่วงวัยเจริญพันธุ์อายุ 30-70 ปี เพิ่มขึ่น

     

    3 เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำสตรีสามรถให้ความรู้ ความเข้าใจเเละคำเเนะนำในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม เเละมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด : แกนนำกลุ่มสตรีมีความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองมะเร็งเต้านม เเละมะเร็งปากมดลูกได้อย่างถูกต้อง

     

    4 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เเละทัศนคติที่ดีต่อการบริการตรวจค้นหามะเร็งเต้านม เเละมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์ุอายุ 30-70 ปี เข้ารับบริการด้วยความเต็มใจ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1422
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 711
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 711
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แกนนำกลุ่มสตรีมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมเเละมะเร็งปากมดลูกได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้เเกนนำกลุ่มสตรีติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุ 30-70 ปี มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-60 ปี มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำสตรีสามรถให้ความรู้ ความเข้าใจเเละคำเเนะนำในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม เเละมะเร็งปากมดลูก (4) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เเละทัศนคติที่ดีต่อการบริการตรวจค้นหามะเร็งเต้านม เเละมะเร็งปากมดลูก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการฟื้นฟูทักษะแกนำสตรีในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-l2490-1-9

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอำรัน สะอะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด