กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,259.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขส่วนใหญ่มีสาเหตุจากประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนซึ่งได้จากสถานการณ์ของปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่พบว่ากลุ่มโรค Metabolic โดยเฉพาะโรคอ้วนลงพุง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน กำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกทั้งยังมีแนวโน้มเป็นปัยหาต่อเนื่องในอนาคต ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรค Metabolic ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มที่มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และความเครียดการเสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดีสามารถจัดการลดความเสี่ยงของตนเองได้จะเป็นกลไลพื้นฐานที่สำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยง ซึ่งการสร้างความรู้ ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวอาจไม่มีผลเพียงพอที่จะทำให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงสุขภาพได้ การจัดกิจกรรมฝึกทักษะและการเสริมสร้างพลังแก่กลุ่มเป้าหมายจึงจำเป็นต้องควบคู่กับการให้ความรู้ ความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งในครอบครัว และชุมชนก็จะส่งผลให้ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมที่ดีได้ดังนั้นจึงสมควรอ่างยิ่งที่จะเร่งการทำงานเชิงรุกในชุมชนเพื่อตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มผู่ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปและให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป ซึ่งทาง โรงพยาบาลส่งเสรมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ จัดตั้งคลีนิค DPACในหน่วยงานเพื่อให้บริการคลีนิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง วึ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุศักยาภาพในการดูแลตนเองไม่เต็มที่เนื่องงจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ควบคุมโรคได้และลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นควรมีการส่งเสริมศักยภาพในการดูแลตนเองเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี โดยทั่วหน้า ผลจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมาจากกลุ่มเป้าหมาย 2,900 ราย พบว่า มีผู้เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 300 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ได้ตระหนักถึงภาวะสขภาพของประชาชนในชุใชนดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและลดโรค ในตำบลดุซงญอขึ้น และได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงยอ สนับสนุนให้ชุมชนมีการจัดการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการให้กลุ่มเสี่ยงสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม และส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่กลุ่มประชาชนทั่วไปซึ่งยังไม่มีความเสี่ยง ทั้งนี้การจัดการชุมชนใ้สามารถลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพด้านต่าง ๆ ต้องดำเนินการควบคู่ไปด้วยกัน ทั้งการจัดการสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการลดโอกาสเสียง เช่น การกำหนดมาตรการทางสังคมของชุมชน และการให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้องรวมถึงมีความรู้ ความเข้าใจจนเกิดความตระหนักสามารถดูแลสุขภาพและจัดการกับตนเอง และครอบครัวให้สามารถควบคู่พฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับที่พอเหมาะสมลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolicได้ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมภายใต้พื้นฐานวิถีชุมชน
  3. 3. เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการลดน้ำหนักและทำกิจกรรมร่วมกัน
  4. 4. ค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยโรคได้ทันท่วงที่
  5. 5. เพื่อจัดบริการเชิงรุกในการคัดกรองภาวะสุขภาพ ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง
  6. 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน 130/80 มม.ปรอท
  7. 7. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน 125 mg/dl
  8. 8. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้ดีและลดภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,869
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการดูแลสุขภาพต่อเนื่อง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค 2.ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
    3.ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้ 4.หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคMetabolicได้ถูกต้อง เหมาะสมโดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าอาหารว่างในการคัดกรองเบาหวานและอบรมให้ความรู้

    วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการรักษาสุขภาพอย่างต่อเนื่องและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค
    2. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
    3. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถส้รางมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
    4. หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolic ได้ ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวบการชุมชนเป็นฐาน
    5. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีศักยภาพในการดูแลตนเอง

     

    3,044 3,869

    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการรักษาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค
    2. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
    3. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถส้รางมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
    4. หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolic ได้ ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวบการชุมชนเป็นฐาน
    5. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีศักยภาพในการดูแลตนเอง

     

    725 725

    3. ค่าอาหารว่างแลเครื่องดื่มในการอบรมแกนนำและ อสม.ในการอบรมฟื้นฟูผู้ป่วย

    วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการรักษาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค
    2. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
    3. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถส้รางมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
    4. หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolic ได้ ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวบการชุมชนเป็นฐาน
    5. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีศักยภาพในการดูแลตนเอง

     

    100 100

    4. ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการรักษาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค
    2. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
    3. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถส้รางมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
    4. หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolic ได้ ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวบการชุมชนเป็นฐาน
    5. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีศักยภาพในการดูแลตนเอง

     

    0 3,869

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการรักษาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค
    2. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
    3. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถส้รางมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
    4. หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolic ได้ ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวบการชุมชนเป็นฐาน
    5. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีศักยภาพในการดูแลตนเอง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolicได้ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน
    ตัวชี้วัด : บันทึกข้อมูลการดำเนินโครงการในโปรแกรม JHCISและรายงานเป็นเอกสารเมื่อสิ้นสุด โครงการพร้อมภาพกิจกรรม

     

    2 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมภายใต้พื้นฐานวิถีชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน ๑๓๐/๘๐ มม.ปรอท

     

    3 3. เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการลดน้ำหนักและทำกิจกรรมร่วมกัน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน ๑๒๕ mg/dl

     

    4 4. ค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยโรคได้ทันท่วงที่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะอ้วนลงพุง สามารถควบคุม/ลดน้ำหนักหรือรอบเอวได้

     

    5 5. เพื่อจัดบริการเชิงรุกในการคัดกรองภาวะสุขภาพ ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ผู้ป่วยเรื้อรัง สามารถควบคุมโรคได้

     

    6 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน 130/80 มม.ปรอท
    ตัวชี้วัด : การนำเสนอในรูปแบบอื่น ๆ เช่นการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การติดตามประเมินผลที่เกิดขึ้นเป็นความยั่งยืนในชุมชน

     

    7 7. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน 125 mg/dl
    ตัวชี้วัด : สถานบริการมีทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้แก่เบาหวานความดันโลหิตสูงและอื่น ๆ ครบถ้วน

     

    8 8. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้ดีและลดภาวะแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3869
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,869
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolicได้ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน (2) 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมภายใต้พื้นฐานวิถีชุมชน (3) 3. เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการลดน้ำหนักและทำกิจกรรมร่วมกัน (4) 4. ค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยโรคได้ทันท่วงที่ (5) 5. เพื่อจัดบริการเชิงรุกในการคัดกรองภาวะสุขภาพ ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง (6) 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน 130/80 มม.ปรอท (7) 7. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน 125 mg/dl (8) 8. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้ดีและลดภาวะแทรกซ้อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด