กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณการ์เดย์

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อ้างถึงประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2557 ตามระเบียบข้อ7 เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และข้อ 7 (1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุด้วยจำนวนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 10.67 ล้านคน คิดเป็น 14 % ของประชากรทั้งหมดสำหรับผู้สูงอายุที่รับผิดชอบในเขตเทศบาลเมืองจังหวัดปัตตานี ทั้งหมด
3 ตำบล รวมทั้งสิ้นจำนวน 4,558 คน คิดเป็น17.68 % ของประชากรทั้งหมด โดยสามารถ แบ่งปะเภทผู้สูงอายุตาม
จำนวนประชากร 60ปีขึ้นไป แยกรายตำบล (คน) ประเภทผู้สูงอายุ กลุ่ม 1 ติดสังคม สามารถดูแลตนเองได้โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นและสามารถร่วมกิจกรรมชุมชนได้(คน) กลุ่ม 2 ติดบ้าน ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน
(คน) กลุ่ม 3 ติดเตียง ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด

(คน) 1.ตำบลจะบังติกอ905คน
กลุ่ม 1 ติดสังคม -สามารถดูแลตนเองได้โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นและสามารถร่วมกิจกรรมชุมชนได้885 คน -กลุ่ม 2 ติดบ้าน ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน 17คน - กลุ่ม 3 ติดเตียง ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด3คน 2.ตำบลอาเนาะรู1,467 คน
กลุ่ม 1 ติดสังคม -สามารถดูแลตนเองได้โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นและสามารถร่วมกิจกรรมชุมชนได้1,440คน กลุ่ม 2 ติดบ้าน ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน22 คน กลุ่ม 3 ติดเตียง ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด 5คน 3.ตำบลสะบารัง 2,186 คน
กลุ่ม 1 ติดสังคม -สามารถดูแลตนเองได้โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นและสามารถร่วมกิจกรรมชุมชนได้ 2,133 คน กลุ่ม 2 ติดบ้าน ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน 38 คน
กลุ่ม 3 ติดเตียง ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด15 คน รวม 4,558 คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้นตามแบบคัดกรองการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน(ADL)
  2. 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง
  3. 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลสุขภาพจิต
  4. 4.เพื่อให้เกิดชมรมผู้สูงอายุและมีกิจกรรมต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ตรวจประเมิน/คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเบื้องต้น และให้ความรู้ รูปแบบจัดนิทรรศการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน
  2. 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรังและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น ร้อยละ 70
2.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ร้อยละ 95 ของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม 3 ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีไม่ซึมเศร้า ร้อยละ 95 ของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม 4. ผู้สูงอายุมีความตื่นตัว.เกิดชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาล อย่างน้อยตำบลละ1 ชมรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-ร้อยละ 98.42ของผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น
- ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง - ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตดีขึ้น (ตามแบบประเมิน 2Q)
- มีชมรมผู้สูงอายุเกิดขึ้น ตำบลละ 1 ชมรม รวม 3 ชมรม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้นตามแบบคัดกรองการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน(ADL)
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 75 ของกลุ่มผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 2..ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีขึ้นโดยใช้แบบประเมิน 2Q 9Q
0.00

 

4 4.เพื่อให้เกิดชมรมผู้สูงอายุและมีกิจกรรมต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 4.เกิดชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อยตำบลละ 1 ชมรม ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้นตามแบบคัดกรองการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน(ADL) (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลสุขภาพจิต (4) 4.เพื่อให้เกิดชมรมผู้สูงอายุและมีกิจกรรมต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ตรวจประเมิน/คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเบื้องต้น และให้ความรู้ รูปแบบจัดนิทรรศการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน (2) 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรังและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (3)  กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณการ์เดย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด