กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผักปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดโรคเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผักปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดโรคเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสถาพร ภัทราภินันท์

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผักปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดโรคเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5284-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผักปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดโรคเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผักปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดโรคเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผักปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดโรคเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5284-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชาชนในกลุ่มวัยทำงานในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน เป็นชุมชนมุสลิมมีวิถีการดำเนินชีวิตเป็นไปอย่างเรียบง่าย ประกอบอาชีพทำการเกษตร เช่น สวนยางพารา สวนผลไม้ และทำนาเพื่อเก็บไว้บริโภค ชาวบ้านตื่นนอนตั้งแต่เข้าตรู่ ก่อนได้ยินเสียงอาซานจากมัสยิดและเข้านอนก่อนเที่ยงคืน ในช่วงหลังตื่นจนถึงเข้านอน ส่วนใหญ่จะรับประทานอาหารสามมื้อ มื้อเช้าจะรับประทานตั้งแต่เช้าก่อนไปทำงาน ไปโรงเรียนหรือรับประทานหลังกลับจากสวนในช่วงสายๆ อาหารเช้านิยมรับประทานข้าว เช่น ข้าวยำ ขนมทอดที่ผลิตขึ้นเองในหมู่บ้าน ข้าวเหนียวไก่ทอดและเครื่องดื่มร้อน เช่น ชาดำร้อน กาแฟดำร้อน(โกปี้) โดยซื้อจากร้านน้ำชาในชุมชน หรือชุมชนใกล้เคียง อาหารมื้อเที่ยงจะรับประทานช่วงบ่ายๆ อาหารมื้อเย็นรับประทานหลังละหมาดตอนค่ำ ซึ่งอาหารทั้งสองมื้อนี้แม่บ้านมักปรุงเอง โดยเฉพาะมื้อค่ำจะเป็นมื้อที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษเพราะเหนื่อยมาทั้งวันจากการทำงาน อาหารที่เน้นจะเป็นอาหารจำพวกแป้ง ไขมัน โดยเฉพาะแกงกะทิและจะรับประทานมากเป็นพิเศษ นอกเหนือจากการรับประทานอาหารที่บ้าน ชาวบ้านในชุมชนมักพบปะกันและรับประทาน ชา กาแฟ ขนมหวาน เช่นโรตี สม่ำเสมอตามร้านน้ำชาที่มีกระจายอยู่ทุกหมู่บ้าน สำหรับการออกกำลังกายยังไม่เป็นรูปแบบที่ชัดเจนมากนัก มีการออกกำลังเฉพาะกลุ่ม ส่วนใหญ่คิดว่าการทำงานออกแรงเป็นการออกกำลังกายไปในตัว ด้วยวิถีชีวิตดังกล่าวข้างต้นนับเป็นปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้เกิดโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดระบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน โดยใช้เทคโนโลยี บุคลากร และทรัพยากร ที่มีอยู่ในชุมชน มาจัดกระบวนการสร้างความเข้าใจและสร้างการมีส่วนร่วมและการร่วมมือจากภาคีทุกภาคส่วนในหมู่บ้าน มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการบริหาร การเปลี่ยนแปลงและจัดทำแผนสุขภาพตำบล ที่มีความสัมพันธ์ในหลายมิติได้มีการปรับแนวคิดการสร้างสุขภาพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการบูรณาการทุกภาคส่วนร่วมในการดำเนินงานให้เข้มแข็ง เน้นกิจกรรมการป้องกันโรคเพื่อห่างไกลมะเร็งและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญ เช่น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานผัก ผลไม้ปลอดสารพิษครึ่งหนึ่งของปริมาณอาหารในแต่ละมื้อเป็นประจำ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม หลีกเลี่ยงจากสารก่อมะเร็งโดยส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้สามารถพึ่งตนเองได้และมีทักษะในการดำรงชีวิตอย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆและสามารถจัดบริการด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม คุ้มค่า มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นำไปสู่การปรับพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ซึ่งเป็นเป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ คือ สุขภาวะที่ยั่งยืน ด้วยวิถีชีวิตที่พอเพียง ในที่สุด โรงพยาบาลควนโดนจึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผัดปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนได้ออกกำลังกายด้วยวิธีการเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า โยคะลดพุงและตารางเก้าช่องในถนนสานสุขภาพ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวตามหลัก 3อ.2ส. เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
  4. เพื่อจัดตั้งชมรมสร้างสุขภาพในถนนสายสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ 10
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนได้มีการเคลื่อนไหวออกแรงจากการทำสวน ปลูกผัก และออกกำลังกายประเภทต่างๆในถนนสายสุขภาพ 2.ประชาชนได้รับการบริโภคผักปลอดสารพิษที่ปลูกเองในชุมชน/ลดรายจ่ายของครัวเรือนและสร้างรายได้เสริมจากกการจำหน่ายผักปลอดสารพิา 3.ประชาชนมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพร่วมกัน ส่งผลให้ลดป่วย ลดโรคเรื้อรังและกลุ่มป่วย สามารถควบคุมโรคได้ดี ลดภาวะแทรกซ้อน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนได้ออกกำลังกายด้วยวิธีการเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า โยคะลดพุงและตารางเก้าช่องในถนนสานสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชน 15 ปีขึ้นไปมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ อาทิตย์ละอย่างน้อย 3 วัน
    0.00

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ
    0.00

     

    3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวตามหลัก 3อ.2ส. เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีผลการประเมิน HB/HL มากกว่าเดิม ร้อยละ 10
    0.00

     

    4 เพื่อจัดตั้งชมรมสร้างสุขภาพในถนนสายสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : มีการจัดตั้งชมรมสร้างสุขภาพ 1 ชมรม
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ 10
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้ออกกำลังกายด้วยวิธีการเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า โยคะลดพุงและตารางเก้าช่องในถนนสานสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวตามหลัก 3อ.2ส. เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน (4) เพื่อจัดตั้งชมรมสร้างสุขภาพในถนนสายสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการออกกำลังกายเป็นหลัก บริโภคผักปลอดสารพิษ พิชิตความเครียดไม่เฉียดโรคเรื้อรัง ในถนนสายสุขภาพ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 61-L5284-1-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสถาพร ภัทราภินันท์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด