กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
รศ.พลเอก ชุมพล เปี่ยมสมบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-1-25 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-1-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อแบบแผนการบริโภคอาหารของครอบครัว และเด็กวัยเรียนเป็นอย่างมากการบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพ ทำให้เกิดการบริโภคอาหารประเภทจานด่วน อาหารสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทโดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งการติดเกมส์ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลง องค์ประกอบเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอ้วนอันตรายของโรคอ้วนในเด็กซึ่งโรคอ้วนในเด็กกำลังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทย จากข้อมูลระบบHealthData Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ปี ๒๕๕8 เด็กวัยเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ ๑๑.๔ และปี ๒๕๕9 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๑๒.๕ เด็กวัยเรียนที่มีภาวะอ้วนมีโอกาสเป็นโรคร้ายแรงอื่นๆได้มากกว่าปกติ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ข้ออักเสบ ขาโก่ง รวมทั้งสมาธิสั้น นอกจากนี้ในกรณีที่เด็กที่ป่วยด้วยโรคอ้วนขั้นรุนแรง มีผลกระทบต่อทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คือทำให้เกิดกลุ่มอาการ Pickwickian Syndrome ส่งผลขัดขวางต่อการเรียนหนังสือ ทำให้ง่วงนอนทุกครั้งที่นั่งเรียน
สถานการณ์ภาวะโภชนาการในโรงเรียนในพื้นที่เขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จำนวน ๖ โรงเรียน ในจำนวนเด็กนักเรียนทั้งหมด ๙๘๑ คน การสำรวจโรงเรียน พบว่าสถานการณ์ของเด็กวัยเรียน ของโรงเรียนบ้านทอน ในช่วงอายุระหว่าง ๗-๑๒ ปี ที่มีภาวะท้วม เริ่มอ้วนและอ้วนมีแนวโน้มเพิ่มสูงกว่าโรงเรียนอื่นๆ จากการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง ปี ๒๕๕๘ ภาวะท้วมร้อยละ ๒.๑0ภาวะเริ่มอ้วนร้อยละ ๑.๖๓ ภาวะอ้วนร้อยละ ๑.๖๓, ปี ๒๕๕๙ ภาวะท้วมร้อยละ 0.๔๙ ภาวะเริ่มอ้วนร้อยละ 0 ภาวะอ้วนร้อยละ 3.67,ปี ๒๕๖0 ภาวะท้วมร้อยละ ๒.๑๙ ภาวะเริ่มอ้วนร้อยละ ๑.0๙ภาวะอ้วนร้อยละ ๘.๕๑ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาที่พบในตำบลโคกเคียนจัดเป็นปัญหาลำดับที่ ๔ของปัญหาทั้งหมด คือปัญหาโรคเบาหวานและภาวะเด็กอ้วนในวัยเรียน โรงพยาบาลกัลยาณิวัฒนาการุณย์ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาภาวะอ้วน และเริ่มอ้วนในเด็กวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน ที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเด็กท้วม เริ่มอ้วน และอ้วนเพื่อให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพการดูแลสุขภาพการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม การมีส่วนร่วม ของโรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการขับเคลื่อนการดำเนินการแก้ไขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ที่เหมาะสม
  2. 2. เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะท้วม เริ่มอ้วน และอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. 3. เพื่อให้ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  4. 4. เพื่อให้โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจและวิเคราะห์ภาวะสุขภาพของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน อายุ 7 – 12 ปี
  2. จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. แก่ครู ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่เด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย แบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม
  4. จัดตั้งแกนนำนักเรียน เพื่อให้มีกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. อย่างต่อเนื่อง
  5. รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ในชุมชน
  6. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ในเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน หลังการจัดกิจกรรม 1 เดือน และส่งต่อสถานบริการ
  7. สรุปและประเมินผลโครงการ และรายงานผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน อายุ 7 - 12 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  2. นักเรียนที่มีภาวะท้วม เริ่มอ้วน และอ้วนมีน้ำหนักลดลง
  3. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจและวิเคราะห์ภาวะสุขภาพของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน อายุ 7 – 12 ปี

วันที่ 1 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด x 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท
    1. ปากกา 100 ด้าม x 10 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน ช่วงอายุ 7 - 12 ปี (มีน้ำหนักเกินเกณฑ์>+1.5 S.D. โดยใช้เกณฑ์อ้างอิงของกระทรวงสาธารณสุข) ที่มีภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.

 

0 0

2. จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. แก่ครู ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คน x 25 บาท x 2มื้อเป็นเงิน 5,000 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 100 คน x 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
  3. ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินก่อน/หลังอบรมจำนวน 200 ชุด x 5 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  4. ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรมจำนวน 100 ชุด x 10 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  5. แฟ้มใส ขนาด A4 จำนวน 100 แฟ้ม x 15 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  6. ปากกาจำนวน 100 ด้าม x 10 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  7. ค่าป้ายไวนิลขนาด 3 x 2 เมตร จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 900 บาท
    8.ค่าบอร์ดความรู้ ขนาด 1.5 x 1.5 เมตร ราคา 337.5 บาท จำนวน 2 แผ่น เป็นเงิน 675 บาท 9.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 600 บาท/ชม. เป็นเงิน 600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน ช่วงอายุ 7 - 12 ปี (มีน้ำหนักเกินเกณฑ์>+1.5 S.D. โดยใช้เกณฑ์อ้างอิงของกระทรวงสาธารณสุข) ที่มีภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.3. ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.

 

100 0

3. จัดตั้งแกนนำนักเรียน เพื่อให้มีกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. อย่างต่อเนื่อง

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าใบประกาศนียบัตรให้แก่นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน x 10 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
2.ค่าใบประกาศนียบัตรให้แก่นักเรียนที่เป็นแกนนำ จำนวน 10 คน x 10 บาท เป็นเงิน 100 บาท

ทั้งหมดรวมเป็นเงิน 1,100 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำนักเรียน จำนวน 100 คน

 

0 0

4. รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ในชุมชน

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าโปสเตอร์ “รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส.” ขนาด A4 จำนวน 50 แผ่น แผ่นละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 2.ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ จำนวน 50 แผ่น แผ่นละ 5 บาท เป็นเงิน 250 บาท 3.ค่าป้ายไวนิลขนาด 3 x 1 เมตร จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 450 บาท ทั้งหมดรวมเป็นเงิน 2,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน ช่วงอายุ 7 - 12 ปี (มีน้ำหนักเกินเกณฑ์>+1.5 S.D. โดยใช้เกณฑ์อ้างอิงของกระทรวงสาธารณสุข) ที่มีภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  • ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.

 

0 0

5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่เด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย แบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คน x 25 บาท x 2มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน x 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
  3. ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินก่อน/หลังอบรม จำนวน 200 ชุด x 5 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 4.ค่าบอร์ดความรู้ฐานที่ 1 ขนาด 1.5 x 1.5 เมตร ราคา 337.5 บาท จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 337.5 บาท 5.ค่าจัดทำโมเดลอาหาร 5 หมู่(แบ่งย่อยเป็น 10 หมวด) ขนาด 1 x 4 จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 2,400 บาท 6.ถุงผ้า ขนาด 12 x 14 นิ้ว จำนวน 100 ใบ x 38 บาท เป็นเงิน 3,800 บาท 7.ธนบัตรจำลอง จำนวน 10 แผ่น เป็นเงิน 150 บาท
    8.ค่าบอร์ดความรู้ฐานที่ 2 ขนาด 1.5 x 1.5 เมตร ราคา 337.5 บาท จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 337.5 บาท 9.ค่าจัดซื้ออุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมสันทนาการ เป็นเงิน 200 บาท ดังนี้ -กระดาษA4 1 รีม 120 บาท -ปากกาเมจิ 1 แพค 70 บาท 10.ค่าบอร์ดความรู้ฐานที่ 3 ขนาด 1.5 x 1.5 เซนติเมตร ราคา 337 บาท จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 337 บาท 11.ค่าอุปกรณ์จัดบอร์ด เป็นเงิน 1,113 บาท ดังนี้ -กระดาษสีคละสี 1 รีม 95 บาท -กาวลาเท็กซ์ 1 กระปุก 55 บาท -เทปใส UNITAPE 3/4x36Y แกนใหญ่ 1 ม้วน 27 บาท -มีดคัตเตอร์เล็ก 2 ด้าม 30x2 =60 บาท -กาวแท่ง 40 กรัม 1 แท่ง 85 บาท -ถุงแก้วขนาด A4 1 แพค 109 บาท -ตะกร้า 10 ใบ 20x10=200 บาท -กรรไกร HEA0285 8 1/2นิ้ว 1 ด้าม 70 บาท -กระดาษA4 1 รีม 120 บาท -ปากกาเคมี 2 หัว ตราม้า ดำ แดง น้ำเงิน อย่างละ 1 ด้าม 3x14=42 บาท -สก๊อตช์ ทิชชูเทป 18 mmx10 YDS (เยื่อกาว) 3M 1 ม้วน 35 บาท -โฟมเทป 3M 215 บาท

ทั้งหมดรวมเป็นเงิน 19,675 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน ช่วงอายุ 7 - 12 ปี (มีน้ำหนักเกินเกณฑ์>+1.5 S.D. โดยใช้เกณฑ์อ้างอิงของกระทรวงสาธารณสุข) ที่มีภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส. 3.ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.

 

100 0

6. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ในเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน หลังการจัดกิจกรรม 1 เดือน และส่งต่อสถานบริการ

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินติดตามผล จำนวน 100 ชุด ชุดละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท 2.ค่าสมุดบันทึกการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังการ อาหาร
และอารมณ์ ขนาด A5 จำนวน 100 เล่ม เล่มละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท ทั้งหมดรวมเป็นเงิน 3,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน ช่วงอายุ 7 - 12 ปี (มีน้ำหนักเกินเกณฑ์>+1.5 S.D. โดยใช้เกณฑ์อ้างอิงของกระทรวงสาธารณสุข) ที่มีภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  • ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.

 

0 0

7. สรุปและประเมินผลโครงการ และรายงานผล

วันที่ 30 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าเข้าเล่มโครงการ จำนวน 5 เล่ม เล่มละ 100 บาท เป็นเงิน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เล่มโครงการ จำนวน 5 เล่ม เล่มละ 100 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน ช่วงอายุ 7 - 12 ปี ที่มีภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วนจำนวน 50 คน มีน้ำหนักลดลงตามเกณฑ์ ร้อยละ 10
10.00

 

2 2. เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะท้วม เริ่มอ้วน และอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน ช่วงอายุ 7 - 12 ปี ที่มีภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วนจำนวน 50 คน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
0.00

 

3 3. เพื่อให้ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : 1. ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
0.00

 

4 4. เพื่อให้โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ที่เหมาะสม (2) 2. เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะท้วม เริ่มอ้วน และอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) 3. เพื่อให้ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส. (4) 4. เพื่อให้โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจและวิเคราะห์ภาวะสุขภาพของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทอน อายุ 7 – 12 ปี (2) จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. แก่ครู ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน (3) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่เด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย แบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม (4) จัดตั้งแกนนำนักเรียน เพื่อให้มีกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. อย่างต่อเนื่อง (5) รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ในชุมชน (6) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. ในเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน หลังการจัดกิจกรรม 1 เดือน และส่งต่อสถานบริการ (7) สรุปและประเมินผลโครงการ และรายงานผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-1-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รศ.พลเอก ชุมพล เปี่ยมสมบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด