กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย บาเน็ง

ชื่อโครงการ โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4231-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4231-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามนโยบายกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัยมาโดยตลอด เพราะอาหารเป็นปัจจัยสำคัญต่อสุขภาพของประชาชนทั้งในด้านคุณภาพและความสะอาด นอกจากนี้อาหารยังเป็นหนึ่งปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาด และปราศจากสารปนเปื้อน เพราะประชาชนมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด จากผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ผู้สัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ปฏิบัติตนให้ถูกต้องในระหว่างการเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ซึ่งจะทำให้เกิดการปนเปื้อน เชื้อโรคลงสู่อาหารได้
      ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่สวยงามแห่งหนึ่งในภาคใต้ การท่องเที่ยวในตำบลอัยเยอร์เวงมีแนวโน้มที่จะเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต มีประชาชนหลั่งไหลเข้ามาเป็นจำนวนมาก ระบบการดูแล ควบคุม ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารจึงยิ่งมีความสำคัญ นอกจากประชาชนในพื้นที่แล้วยังมีนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาแล้วควรได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และไม่เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มาจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคบิด เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพประชาชนทั้งในพื้นที่และนักท่องเที่ยว อีกทั้งอาจส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของตำบลอัยเยอร์เวงต่อไปอีกด้วย
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดให้มี โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ในด้านการสุขาภิบาลอาหาร อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีคุณภาพ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร
  2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์และตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารเป้าหมาย
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร
  3. กิจกรรมมอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจด้านการสุขาภิบาลอาหาร สามารถประกอบและจำหน่ายอาหารที่สะอาด ปลอดภัย   2) ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/ร้านจำหน่ายอาหารสด มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐาน และได้รับป้ายรับรองความปลอดภัยด้านอาหาร
  3) ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารเคมีและสิ่งปนเปื้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร

วันที่ 11 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ในวันพุธที่  11 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารอเนกประสงค์ (ตาดีกา) มัสยิดสามัคคีธรรม กม.32

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 52 คน จาก 19 ร้าน/แผงลอย 3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ 4 โรงเรียนในพื้นที่

 

50 0

2. กิจกรรมรณรงค์และตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารเป้าหมาย

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารตามมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT)  ของกรมอนามัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ร้านเข้าร่วมโครงการใหม่ ตรวจได้จำนวน 20 ร้านจาก 22 ร้าน  คิดเป็นร้อยละ 90.91 ผ่านเกณฑ์ทั้งสิ้นจำนวน 20 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 100 - ร้านเดิมที่ประเมินเพื่อต่ออายุป้าย Clean Food Good Taste จำนวน 22 ร้าน จาก 24 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 91.67 ผ่านเกณฑ์ทั้งสิ้น จำนวน 22 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 100
    - ร้านขายของสด/ของชำ จำนวน 1 ร้าน สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ สารบอแร็กซ์ สารฟอกขาว ฟอร์มาลีน และสารกันรา ใน 10 ตัวอย่าง ผลตรวจไม่พบสารปนเปื้อนในอาหารแต่อย่างใด
    นอกจากนี้มีการตรวจการใช้โฟมบรรจุอาหาร พบจำนวน 4 ร้าน แต่ภายหลังได้ให้คำแนะนำ และติดตามตรวจซ้ำพบว่าร้านอาหารที่เข้าร่วมโครงการเป็นร้านปลอดโฟม 100%

 

50 0

3. กิจกรรมมอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT)

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) แก่ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้านใหม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  จำนวน 20 ร้าน และต่ออายุป้ายจำนวน 22 ร้าน

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร
80.00 100.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังและตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจประเมินและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร (2) เพื่อเฝ้าระวังและตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์และตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารเป้าหมาย (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร (3) กิจกรรมมอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4231-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารีแย บาเน็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด