กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ


“ โครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย ”

ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ศูย์พัฒนาเด็กเล็ก(อัลหูดา)

ชื่อโครงการ โครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2496-3-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2496-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ปี ๒๕๕๙ พบว่า เด็กอายุ ๒-๔ ปีได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ๔.๕ใน พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๔๘ เป็นร้อยละ ร้อยละ 53ภาคใต้มากพบสูงสุด ร้อยละ 70 พบสาเหตุจากดื่มน้ำหวาน-ขนม แล้วไม่แปรงฟันก่อนนอน ยกเป็น 1 ใน 10 ปัญหาสุขภาพ ขณะเดียวกันมีเด็กเข้าถึงบริการเพียงร้อยละ 30 กระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการ ซึ่งทำให้การบริการเพิ่มมากขึ้น คือการมีบริการเคลือบหลุมร่องฟันเป็นบริการในชุดสิทธิประโยชน์ทั้งนี้ปัจจัยที่ส่งผลให้เด็กมารับบริการเพิ่มมากขึ้นจากการประชาสัมพันธ์การเคลือบหลุมร่องฟัน ในโครงการยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดีซึ่งเป็นผลกระทบที่ทำให้ประชาชนให้ความสนใจในการรับบริการมากขึ้นเนื่องจากโครงการได้สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรมดังนั้นการดูแลสุขภาพทางด้านอนามัยของช่องปากและฟันถือเป็นการดูแลในลำดับต้นๆ ซึ่งในเรื่องของทันตสุขภาพของเด็กในจังหวัดภาคใต้ตอนล่างอยู่ในลำดับท้ายๆ พบว่าเด็กมีปัญหาฟันผุเกือบร้อยเปอร์เซ็นเต็ม ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัลหูดา จึงได้จัดทำโครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ๒๕๕๙ ขึ้นเพื่อพัฒนาระบบบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพและครอบคลุม ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลรักษาอนามัย ช่องปากของตนเองและส่งเสริมกิจกรรมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนได้รับบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ๒. เด็กนักเรียนก่อนวัยเรียนที่มีปัญหาฟันน้ำนมผุและปัญหาเร่งด่วน ได้รับบริการทันตกรรมและแก้ไขปัญหา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย

วันที่ 1 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑. ขั้นเตรียมการ ๑.๑เสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ ๑.๒ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ๑.๓จัดเตรียมสื่อ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในโครงการ ๑.๔แต่งตั้งคณะทำงานระดับอำเภอ ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน สรุปผลงาน๒ ครั้ง/ปี

๒.ขั้นดำเนินการ กิจกรรมดำเนินงานที่ ๒.๑ศูนย์สุขภาพชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดำเนินงานติดตามและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ในสถานศึกษาหลังอาหารกลางวันทุกวัน ซึ่งสถานศึกษามีบทบาทหลักในการจัดสถานที่และน้ำที่ใช้ในการแปรงฟัน จัดหาและจัดเก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน จัดกิจกรรมแปรงฟันอย่างเป็นระบบ และจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพการแปรงฟัน เช่นการตรวจความสะอาดช่องปากอย่างสม่ำเสมอ การฝึกทักษะการแปรงฟัน การจัดการเรียนรู้ เรื่อง การดูแลทันตสุขภาพเพื่อและสร้างเจตคติที่ดีให้แก่เด็ก ฯลฯ ภายใต้การสนับสนุนทางด้านวิชาการ บริหารจัดการ และทรัพยากรที่จำเป็นจากสถานบริการสุขภาพ กิจกรรมดำเนินงานที่ ๒.๒การพัฒนาทีมงาน เพื่อให้มีเจตคติ และทักษะในการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนร่วมกับครอบครัวและชุมชน ๓.ขั้นประเมินผล ๑. การรายงานผลการปฏิบัติงานรายเดือน
๒. รายงานการให้บริการทันตกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. กลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนได้รับบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ๒. เด็กนักเรียนก่อนวัยเรียนที่มีปัญหาฟันน้ำนมผุและปัญหาเร่งด่วน ได้รับบริการทันตกรรมและแก้ไขปัญหา

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. กลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนได้รับบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ๒. เด็กนักเรียนก่อนวัยเรียนที่มีปัญหาฟันน้ำนมผุและปัญหาเร่งด่วน ได้รับบริการทันตกรรมและแก้ไขปัญหา

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2496-3-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูย์พัฒนาเด็กเล็ก(อัลหูดา) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด