โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ”
ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอบียะ อูมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน
กรกฎาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3001-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กรกฎาคม 2561 ถึง 21 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3001-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กรกฎาคม 2561 - 21 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความเจ็บป่วย เป็นสิ่งที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ อิสลามมิได้ถือว่าความเจ็บป่วยเป็นเคราะห์กรรมหรือความโชคร้าย หากแต่เชื่อว่า ความเจ็บป่วยนั้นเป็นไปตามพระประสงค์ของอัลลอฮฺ และการหายหรือไม่หายจากการเจ็บป่วย หรือการตาย ก็เป็นพระประสงค์ของอัลลอฮฺเช่นกัน แต่ก็มิได้หมายความว่า ให้ผู้ป่วยนอนรอจนกว่าพระองค์จะลิขิตให้หายโดยไม่พยายามเยียวยารักษา อิสลามถือว่า ความเจ็บป่วยเป็นการทดสอบ วัดความศรัทธา ความอดทน ความยำเกรงต่ออัลลอฮฺ นอกจากนี้ การที่พระองค์ให้เราเจ็บป่วยยังถือเป็นความเมตตา และไม่ให้เราท้อแท้สิ้นหวัง ให้รีบบำบัดเพื่อจะได้หาย ได้เคารพภักดีต่อพระองค์ต่อไป
มนุษย์ทุกคนได้รับการทดสอบจากอัลลอฮฺทั้งรูปแบบของความสุขสบายและความทุกข์ยาก เพื่อทดสอบถึงความศรัทธาให้มนุษย์รู้จักขอบคุณพระองค์ในยามสุข รู้จักแบ่งปันให้เพื่อนมนุษย์ และรู้จักอดทน ระลึกถึงอัลลอฮฺในยามทุกข์ยาก ยามเจ็บป่วย หรือประสบเคราะห์กรรมต่างๆ ดังนั้น ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น จึงเป็นการทดสอบถึงความอดทนในการบำบัดรักษา ทดสอบระดับความศรัทธาที่มีอยู่ ผู้ที่เข้าใจและมีความศรัทธา จะมีกำลังใจที่จะต่อสู้กับความเจ็บป่วยที่ประสบอยู่ เขาจะวิงวอนขอพรจากพระองค์ให้หายจากโรค
ในการดูแลผู้ที่เจ็บป่วยมุสลิม จึงต้องทำให้สุขภาวะทางจิตวิญญาณของเขาแข็งแรง จะได้เข้าใจเรื่องนี้และมีพลังในการต่อสู้กับโรคร้าย หากจิตวิญญาณเขาอ่อนแอ เขาจะท้อแท้ ไม่มีกำลังใจ เกิดความเครียด ความเศร้า ส่งผลต่อโรคทางกายที่เป็นอยู่ หรือมีโรคใหม่แทรกซ้อนขึ้นได้ จาการลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่ และการลงพื้นที่ของ อสม.เองในการลงเยี่ยมคนไข้ ซึ่งมีการเจ็บป่วย ทั้งที่เล็กน้อยและที่รุนแรงสิ่งที่พบเห็น ในชุมชนยังมีส่วนใหญ่ที่ ละเลยการปฏิบัติศาสนกิจ เช่น การละหมาด จากการพูดคุยสอบถาม คำตอบที่ได้รับ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 60 ยังไม่เข้าใจ วิธีการปฏิบัติในขณะเจ็บป่วย ทำให้หลายคน ไม่มีความรู้ในเรื่องเหล่านี้ และละเลยในการปฏิบัติศาสนกิจ ในขณะเจ็บป่วยซึ่ง บางครั้งเป็นการเข้าใจผิด เพื่อสร้างองค์ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติศาสนากิจในขณะที่เจ็บป่วยได้ถูกต้อง และนำไปปฏิบัติได้ ชมรม อสม.ตำบลเกาะจัน จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
- ข้อที่ 2. เพื่อนำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง
- ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยดีขึ้น
๒. ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปสามารถปฏิบัติปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยดีขึ้นได้ถูกต้องยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
วันที่ 21 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ได้เชิญวิทยากรมาบรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการอาบน้ำละหมาดวิธีที่ถูกต้องกรณีเจ็บป่วย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 150 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู่้ความเข้าใจในการปฏิบัติตน หากเกิดเจ็บป่วย โดยไม่จำเป็นต้องทิ้งการละหมาด หากบริเวณไหนของร่างกายที่ไม่สามารถถูกน้ำ ก็ยังมีวิธีการอาบน้ำละหมาดอีกรูปแบบหนึ่งที่ไม่ต้องใช้น้ำ ประชาชนสนใจและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติจริง
150
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
85.00
85.00
2
ข้อที่ 2. เพื่อนำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม นำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง
80.00
80.00
3
ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
150
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย (2) ข้อที่ 2. เพื่อนำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3001-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรอบียะ อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ”
ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอบียะ อูมา
กรกฎาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3001-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กรกฎาคม 2561 ถึง 21 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3001-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กรกฎาคม 2561 - 21 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความเจ็บป่วย เป็นสิ่งที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ อิสลามมิได้ถือว่าความเจ็บป่วยเป็นเคราะห์กรรมหรือความโชคร้าย หากแต่เชื่อว่า ความเจ็บป่วยนั้นเป็นไปตามพระประสงค์ของอัลลอฮฺ และการหายหรือไม่หายจากการเจ็บป่วย หรือการตาย ก็เป็นพระประสงค์ของอัลลอฮฺเช่นกัน แต่ก็มิได้หมายความว่า ให้ผู้ป่วยนอนรอจนกว่าพระองค์จะลิขิตให้หายโดยไม่พยายามเยียวยารักษา อิสลามถือว่า ความเจ็บป่วยเป็นการทดสอบ วัดความศรัทธา ความอดทน ความยำเกรงต่ออัลลอฮฺ นอกจากนี้ การที่พระองค์ให้เราเจ็บป่วยยังถือเป็นความเมตตา และไม่ให้เราท้อแท้สิ้นหวัง ให้รีบบำบัดเพื่อจะได้หาย ได้เคารพภักดีต่อพระองค์ต่อไป มนุษย์ทุกคนได้รับการทดสอบจากอัลลอฮฺทั้งรูปแบบของความสุขสบายและความทุกข์ยาก เพื่อทดสอบถึงความศรัทธาให้มนุษย์รู้จักขอบคุณพระองค์ในยามสุข รู้จักแบ่งปันให้เพื่อนมนุษย์ และรู้จักอดทน ระลึกถึงอัลลอฮฺในยามทุกข์ยาก ยามเจ็บป่วย หรือประสบเคราะห์กรรมต่างๆ ดังนั้น ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น จึงเป็นการทดสอบถึงความอดทนในการบำบัดรักษา ทดสอบระดับความศรัทธาที่มีอยู่ ผู้ที่เข้าใจและมีความศรัทธา จะมีกำลังใจที่จะต่อสู้กับความเจ็บป่วยที่ประสบอยู่ เขาจะวิงวอนขอพรจากพระองค์ให้หายจากโรค ในการดูแลผู้ที่เจ็บป่วยมุสลิม จึงต้องทำให้สุขภาวะทางจิตวิญญาณของเขาแข็งแรง จะได้เข้าใจเรื่องนี้และมีพลังในการต่อสู้กับโรคร้าย หากจิตวิญญาณเขาอ่อนแอ เขาจะท้อแท้ ไม่มีกำลังใจ เกิดความเครียด ความเศร้า ส่งผลต่อโรคทางกายที่เป็นอยู่ หรือมีโรคใหม่แทรกซ้อนขึ้นได้ จาการลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่ และการลงพื้นที่ของ อสม.เองในการลงเยี่ยมคนไข้ ซึ่งมีการเจ็บป่วย ทั้งที่เล็กน้อยและที่รุนแรงสิ่งที่พบเห็น ในชุมชนยังมีส่วนใหญ่ที่ ละเลยการปฏิบัติศาสนกิจ เช่น การละหมาด จากการพูดคุยสอบถาม คำตอบที่ได้รับ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 60 ยังไม่เข้าใจ วิธีการปฏิบัติในขณะเจ็บป่วย ทำให้หลายคน ไม่มีความรู้ในเรื่องเหล่านี้ และละเลยในการปฏิบัติศาสนกิจ ในขณะเจ็บป่วยซึ่ง บางครั้งเป็นการเข้าใจผิด เพื่อสร้างองค์ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติศาสนากิจในขณะที่เจ็บป่วยได้ถูกต้อง และนำไปปฏิบัติได้ ชมรม อสม.ตำบลเกาะจัน จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
- ข้อที่ 2. เพื่อนำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง
- ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยดีขึ้น ๒. ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปสามารถปฏิบัติปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยดีขึ้นได้ถูกต้องยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย |
||
วันที่ 21 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ได้เชิญวิทยากรมาบรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการอาบน้ำละหมาดวิธีที่ถูกต้องกรณีเจ็บป่วย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 150 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู่้ความเข้าใจในการปฏิบัติตน หากเกิดเจ็บป่วย โดยไม่จำเป็นต้องทิ้งการละหมาด หากบริเวณไหนของร่างกายที่ไม่สามารถถูกน้ำ ก็ยังมีวิธีการอาบน้ำละหมาดอีกรูปแบบหนึ่งที่ไม่ต้องใช้น้ำ ประชาชนสนใจและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติจริง
|
150 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย |
85.00 | 85.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2. เพื่อนำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม นำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วยไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง |
80.00 | 80.00 |
|
|
3 | ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | 150 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | 150 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม. และ ประชาชนทั่วไปเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย (2) ข้อที่ 2. เพื่อนำความรู้เรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย ไปปฏิบัติต่อได้อย่างถูกต้อง (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถแนะนำผู้ป่วยในการปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจในขณะเจ็บป่วย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3001-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรอบียะ อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......