กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือน การจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอรุณเอ็มดู

ชื่อโครงการ โครงการธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือน การจัดการขยะต้นทาง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-5312-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 29 พฤศจิกายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือน การจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือน การจัดการขยะต้นทาง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือน การจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-5312-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 29 พฤศจิกายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 142,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สำหรับสถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ขยะมูลฝอยชุมชน ในปี 2559 เกิดขึ้นทั่วประเทศประมาณ 27.06 ล้านตันคิดเป็นอัตราเกิดมูลฝอย 1.14 กิโลกรัมต่อคนวัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2558 ประมาณ 190,000 ตัน (ร้อยละ 0.7)โดยเป็นขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร 4.20 ล้านตัน และใน 76 จังหวัด 22.84 ล้านตัน โดย 5 จังหวัดที่มีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นต่อวันมากที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร ชลบุรี นครราชสีมา สมุทรปราการ ขอนแก่นโดยปัจจุบันคนไทย 1 คน สร้างขยะโดยเฉลี่ย 1.14 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน การจัดการในปัจจุบัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ 7,777 แห่ง มี 4,545 แห่ง ที่ให้บริการเก็บขนนำไปกำจัด เป็นจำนวน 13.6 ล้านตัน (ร้อยละ 50 ของขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น)โดยถูกกำจัดในสถานที่กำจัดอย่างถูกต้องจำนวน 9.59 ล้านตัน หรือร้อยละ 36และถูกกำจัดที่สถานที่กำจัดไม่ถูกต้อง (เผากลางแจ้ง เทกองทิ้งบ่อดินเก่า/พื้นที่รกร้าง) จำนวน 11.69 ล้านตัน หรือร้อยละ 43ส่วนการคัดแยกเพื่อนำไปใช้ประโยชน์มีเพียง 5.76 ล้านตัน หรือร้อยละ 21ขณะที่สถานที่กำจัดขยะแบบถูกสุขอนามัย มีเพียง 466 แห่งจากทั้งหมด 2,490 แห่ง หรือเพียงร้อยละ 19 เท่านั้น ส่วนอีกร้อยละ 81 หรือ 2,024 แห่ง เป็นการกำจัดขยะแบบไม่ถูกสุขอนามัย เช่น กองทิ้งไว้กลางแจ้ง เผาในที่โล่ง รวมถึงลักลอบทิ้งในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม ด้วยเหตุนี้ภาครัฐของไทยจึงกำหนดให้ปัญหาขยะเป็น “วาระแห่งชาติ” เช่นแผนของกรมควบคุมมลพิษ ระหว่างปี 2559-2564 ตั้งเป้าจัดการขยะมูลฝอยที่ตกค้างอย่างถูกวิธีให้ได้ “ร้อยละ 100” หรือ “ไม่มีขยะตกค้างอีกต่อไป” อีกทั้งในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาตม ๒๕๕๙ มติเห็นด้วยกับแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ โดยมอบให้กระทรวงมหาดไทยบูรณาการร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทำแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” โดยใช้หลักการ ๓Rs พร้อมทั้งปฏิบัติตามแนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการลดปริมาณขยะปลายทางลงร้อยละ ๕ อีกทั้งต้องมีการคัดแยกขยะมูลฝอยหรือนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ชุมชนต้องมีจุดรวบรวมขยะอันตรายและในชุมชนต้องมีสถานที่รวบรวมขยะอันตราย สนับสนุนทรัพยากรด้านข้อมูล องค์ความรู้ งบประมาณ และอำนวยความสะดวกให้กับชุมชนในการปฏิบัติงานด้านการจัดการขยะมูลฝอย จากการขยายตัวของชุมชนในปัจจุบันอีกทั้งการเพิ่มขึ้นของประชากร การที่ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูลเป็นเมืองที่มีการส่งเสริมการ่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวเข้ามาปีละ หลายหมื่นคน มีแนวโน้มส่งผลให้ปริมาณขยะชุมชนมีเพิ่มขึ้น และอาจส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมของชุมชนหากไม่มีการจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ มีภาระที่ต้องจัดเก็บขยะจากชุมชนเพื่อมากำจัด วันละ 7 ตัน หรือ เดือนละ 120 ตัน แต่ก็ยังพบว่ามีขยะตกค้างในชุมชนที่ยังไม่ได้รับการจัดเก็บราววันละ 1 ตัน จากการสุ่มสำรวจขยะพบว่าขยะทั่วไปที่ประชาชนทิ้งนั้น ยังมีขยะปะปนกันหลายประเภท จากปัญหาดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินกิจกรรมเชิงรุก การทำข้อตกลงในชุมชน การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และการให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาจนสามารถนำไปปฏิบัติและเกิดเป็นธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 ของแต่ละหมู่บ้านเพื่อลดปัญหาด้านขยะอีกทั้งเป็นข้อตกลงของชุมชนที่รับผิดชอบร่วมกัน ด้วยเหตุนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ จึงได้จัดทำโครงการธรรมนูญสุขภาพประเด็นการคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อใช้ธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการขยะในชุมชน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้มีเวทีในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561
  3. ข้อที่ 3 เพื่อจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 จัดการปัญหาขยะในทุกหมูบ้าน
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลและจัดการขยะในชุมชนของตนเอง
  5. ข้อที่ 5 เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกและสร้างจิตอาสาในการดำเนินงาน การจัดการขยะในชุมชน
  6. ข้อที่ 6 เพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัด
  7. เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
  8. เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวที 1เวทีสร้างความเข้าใจ คัดเลือกคณะกรรมการคระทำงาน (จำนวน 7 ครั้ง)
  2. เวทีที่ 2 เวทีรับข้อเสนอปัญหาอุปสรรคแนวทางแก้ไข การบริหารจัดการขยะในชุมชน (จำนวน 7 ครั้ง)
  3. เวทีที่ 3 วิเคราะห์ คืนข้อมูล ขัดเกลาข้อมูล
  4. เวทีที่ 4 ข้อมูล ประกาสใช้ธรรมนญสุขภาพ การจัดการขยะในครัวเรือนการจัดการขยะต้นทาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เพื่อให้ชุมชนได้สามารถใช้เครื่องมือ ธรรมนูญสุขภาพ ในการจัดการขยะ และการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการตนเอง 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้ธรรมนูญสุขภาพประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปริมาณขยะในครัวเรือนได้
3. เพื่อให้เกิดนวัตกรรม การใช้เครื่องมือ ธรรมนูญสุขภาพ ในการบริหารจัดการขยะของชุมชนในตำบลปากน้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวที 1เวทีสร้างความเข้าใจ คัดเลือกคณะกรรมการคระทำงาน (จำนวน 7 ครั้ง)

วันที่ 9 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชาวบ้าน ส้รางความเข้าใจกระบวนการทำธรรมนูญสุขภาพค้นหาปัญหาเรื่องขยะในชุมชน พร้อมหาแนวทางการแก้ไข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ธรรมนูญตำบลปากน้ำหมู่ที่ 1 บ้านบ่อเจ็ดลูก องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ตำบลปากน้ำ อำเภอ ละงู จังหวัดสตูล 1. ข้อมูลเบื้องต้น จำนวนหมู่บ้าน  7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านบ่อเจ็ดลูก หมู่ที่ 2 บ้านปากบารา หมู่ที่ 3 บ้านเกาะบูโหลน หมู่ที่ 4 บ้านตะโละใส หมู่ที่ 5 บ้านท่ายาง หมู่ที่ 6 บ้านท่ามาลัย หมู่ที่ 7 บ้านท่าพยอม จำนวนประชากร
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน จำนวนประชากร ( คน ) ครัวเรือน ( หลัง ) ชาย หญิง รวม 1 บ้านบ่อเจ็ดลูก 533 511 1,044 263 2 บ้านปากบารา 2,114 2,106 4,220 1,355 3 บ้านเกาะบุโหลน 264 263 527 157 4 บ้านตะโละใส 1,417 1,493 2,910 701 5 บ้านท่ายาง 270 283 553 128 6 บ้านท่ามาลัย 502 589 1,091 268 7 บ้านท่าพยอม 241 225 466 116 รวม 5,341 5,470 10,811 2,988

ผู้นำท้องที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ นายอรุณ  เอ็มดู กำนันตำบลปากน้ำ นายวินัย นุ้ยไฉน ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่ 1 นายสุไลมาน  โต๊ะหมีน ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่ 2 นายนิรันดร์  ชุมคง ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่ 3 นายไกรศร  อาหมัน ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่ 5 นายรอหมาด  สอและ ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่ 6 นายอัศรุต  กองบก ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่ 7 นายปิยะพงษ์  ปากบารา 2. สภาพปัญหาที่ต้องการแก้ไข (ประเด็นที่ต้องการทำธรรมนูญ) 2.1 ยาเสพติด 2.2 ขยะ 2.3 ลักเล็กขโมยน้อย 2.4 ขาดแคลนน้ำใช้ (อุปโภค) 2.5 ไข้เลือดออก 2.6 ปัญหาการใช้ท่าเทียบเรือบ้านบ่อเจ็ดลูก 2.7 ปัญหาการหย่าร้าง 3. คณะทำงาน/วิทยากรระดับตำบล ลำดับที่ ชื่อ-สกุล หน่วยงาน/ตำแหน่ง ตำแหน่งในคณะทำงาน 1. นายสุไลมาน  โต๊ะหมีน ผู้ใหญ่บ้าน ม.1 ประธานกรรมการ 2. นายชลธี  สาปวช ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านม.1 กรรมการ 3. นายอาหมาด  หยียูโสะ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านม.1 กรรมการ 4. นางอำรา  หวังสบู ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านม.1 กรรมการ 5. นายเจ๊ะอัสนี  สาหลัง อีหม่ามมัสยิดบ้านบ่อเจ็ดลูก กรรมการ 6. นายฉ็อน  หลงสมัน ประธาน อสม. กรรมการ 7. นายอาดี  หลงสมัน ที่ปรึกษากรรมการหมู่บ้าน กรรมการ 8. นายมุดตอฝา  มังกะลู อสม. กรรมการ 9. นายเติมศักดิ์  มรมาศ อสม. กรรมการ 10. นางเจ๊ะย๊ะ  หวังยูนุ้ย บัณฑิตอาสา กรรมการ 11. นายพิเชษฐ์  ปัจฉิมศิริ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อเจ็ดลูก กรรมการ 12. นายตรา  เหมโคกน้อย ปลัด อบต.ปากน้ำ ที่ปรึกษา 13. นายปรีชา  ปันดีกา ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ที่ปรึกษา 14. นายเอกนรินทร์  ลัดเลีย นักวิชาการสุขาภิบาล ที่ปรึกษา

ใบงาน1 หมู่ที่ 2 บ้านปากบารา
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ด้านการจัดการขยะ 1. ปัญหาและแนวคิดประเด็นที่ต้องการทำ “ธรรมนูญสุขภาพการจัดการขยะ” 2.1 เปลี่ยนความคิดของการใช้โฟม, ถุงพลาสติก 2.2 เปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งน้ำมันเครื่องลงทะเล 2.3 “ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา” 2.4 ลดขยะในบ้านลงจากเดิม 2.5 ขยะลังโฟมเต็มบนสะพานคาร์โก้ทำมัยรถขยะไม่เก็บ 2.6 ไม่สามารถทำอาชีพทะเลได้เหมือนสมัยก่อน เช่น หอย ปู 2.7 ในคลองมีขยะมาก เช่นขวดแก้ว แพรมเพริส 2.8 ค้นหาพื้นที่ที่มีการทิ้งขยะ 2.9 มีการลักลอบทิ้งขยะในลำคลอง 2.10 การจัดการขยะเป็นหน้าที่ของทุกคน 2.11 สร้างจิตอาสาและสร้างความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะการคัดแยกขยะก่อนทิ้งของประชาชน 2.12 จัดการปัญหาขยะตกค้างในชุมชน 2.13 ปัญหาหมาคุ้ยเขี่ยขยะ (ในซอยวัด) 2.14 ปัญหาการจัดเก็บขยะล่าช้า 2.15 ทิ้งขยะในคลอง 2.16 มีคนทิ้งขยะในที่รวบรวมขยะของโรงเรียน 2.17 เพิ่มการเก็บขยะในโรงเรียน 2.18 มีรถบรรทุกปลาน้ำไหลบนถนน มีกลิ่นรบกวน 2.19 หน้าที่เก็บขยะเป็นของ อสม. 2.20 ควรมีกิจกรรมการคัดแยกขยะ นำขยะไปขายโดยนักเรียน เยาวชนะ 2.21 ขยะสะสมริมทะเลมีปริมาณเยอะ 2.22 มีลังโฟมที่ไม่สามารถใช้งานได้ทิ้งบริเวณท่าเรือ 2.23 ควรให้ผู้ประกอบการส่งสินค้าเป็นผู้รับผิดชอบ 2.24 ผู้ประกอบการเรือควรมีการจัดการน้ำมันเครื่อง 2.25 คนเก็บขยะควรจัดเก็บขยะให้เรียบร้อยหลังเก็บขยะ 2.26 ทิ้งขยะในที่ตนเอง (อ้างกรรมสิทธิ์ในที่ดิน) ซอยเกาะกลาง,ท่าแฉ,ห้อยแดง 2.27 ผู้ประกอบการมาทิ้งขยะริมถนน ข้างเคเบิล 2.28 กลิ่นเหม็นจากโรงตากปลา (ซอยท่าเฉ)

 

140 0

2. เวทีที่ 2 เวทีรับข้อเสนอปัญหาอุปสรรคแนวทางแก้ไข การบริหารจัดการขยะในชุมชน (จำนวน 7 ครั้ง)

วันที่ 18 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

รับข้อเสนอแนะจากการจัดเวทีประชาชน จำนวน 7 หมู่บ้าน หาแนวทางการแก้ไข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อเสนอแนะจากประชาชน
ได้แนวทางการแก้ไขปัญหาของแต่ละหมู่บ้าน

 

490 0

3. เวทีที่ 3 วิเคราะห์ คืนข้อมูล ขัดเกลาข้อมูล

วันที่ 23 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มประชาชนแกนนำทั้ง 7 หมู่บ้าน วิเคราะห์ข้อมูล คืนข้อมูลแก่แกนนำหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลการจัดการขยะแต่ละหมู่บ้าน เพื่อคืนข้อมูล

 

490 0

4. เวทีที่ 4 ข้อมูล ประกาสใช้ธรรมนญสุขภาพ การจัดการขยะในครัวเรือนการจัดการขยะต้นทาง

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแกนนำทั้ง 7 หมู่บ้าน พร้อมกิจกรรมประกาสใช้ธรรมนูญสุขภาพประจำหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นการคัดแยกขยะ ครบทั้ง 7 หมู่บ้าน

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อใช้ธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 มีภาคีเครือข่ายในการจัดการขยะในชุมชน
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้มีเวทีในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 มีเวทีในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 จัดการปัญหาขยะในทุกหมูบ้าน
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 3 มีการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
0.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลและจัดการขยะในชุมชนของตนเอง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 4 ประชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชนของตนเอง
0.00

 

5 ข้อที่ 5 เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกและสร้างจิตอาสาในการดำเนินงาน การจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 5 มีจิตอาสาประจำหมู่บ้านในการจัดการขยะในชุมชน
0.00

 

6 ข้อที่ 6 เพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัด
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 6 ปริมาณขยะที่ต้องกำจัดลดลง ร้อยละ 10
0.00

 

7 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
3.00

 

8 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อใช้ธรรมนูญสุขภาพ  ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการขยะในชุมชน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้มีเวทีในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 (3) ข้อที่ 3 เพื่อจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือนจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 จัดการปัญหาขยะในทุกหมูบ้าน (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลและจัดการขยะในชุมชนของตนเอง (5) ข้อที่ 5 เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกและสร้างจิตอาสาในการดำเนินงาน การจัดการขยะในชุมชน (6) ข้อที่ 6 เพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัด (7) เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน (8) เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวที 1เวทีสร้างความเข้าใจ คัดเลือกคณะกรรมการคระทำงาน (จำนวน 7 ครั้ง) (2) เวทีที่ 2 เวทีรับข้อเสนอปัญหาอุปสรรคแนวทางแก้ไข การบริหารจัดการขยะในชุมชน (จำนวน 7 ครั้ง) (3) เวทีที่ 3 วิเคราะห์ คืนข้อมูล ขัดเกลาข้อมูล (4) เวทีที่ 4 ข้อมูล ประกาสใช้ธรรมนญสุขภาพ การจัดการขยะในครัวเรือนการจัดการขยะต้นทาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการธรรมนูญสุขภาพ ประเด็น การคัดแยกขยะ และลดปัญหาขยะในครัวเรือน การจัดการขยะต้นทาง ปี 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-5312-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรุณเอ็มดู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด