กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการชาวกะรุบีร่วมใจ ห่างไกลไข้เลือดออก ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน สาเมาะ และนางสะปีนะซีบะ

ชื่อโครงการ โครงการชาวกะรุบีร่วมใจ ห่างไกลไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-5-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวกะรุบีร่วมใจ ห่างไกลไข้เลือดออก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวกะรุบีร่วมใจ ห่างไกลไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวกะรุบีร่วมใจ ห่างไกลไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2971-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยพื้นที่ชุมชนในพื้นที่ป่าสวนยางพารา ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญในการเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ทำให้มีการระบายของการเกิดโรคได้ง่าย ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของปัญหาคือ ประชาชนขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและการทำงายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เพราะความเชื่อเดิมๆที่ไม่ถูกต้องและมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค และวิถีชีวิตที่ประกอบอาชีพกรีดยาง ในการใช้กะลาให้การรองน้ำยางซึ่งการเก็บยางนั้น ทำให้มีน้ำขังในกะลา ก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายได้ง่าย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในชุมชนมีการทิ้งขยะรอบๆบ้าน ไม่มีการชำจัดที่ถูกวิธี ทำให้เกิดการเพาะพันธืยุงลาย ก่อนหน้านี้ชุมชนมีการนำเทคโนโลยีที่สามารถนำมาใช้ในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย เช่น การพ่นหมอกควัน การใช้ทรายอเบต และการใช้สมุนไพรในการช่วยควบคุมการติดต่อของโรค ทางทีมงานเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อให้คนในชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรค และได้มีส่วนร่วมในชุมชน การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงด้วยกัน เป็นการสร้างเสริมกิจกรรมในชุมชนร่วมด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม Big Cleaning Day
  2. เดินรณรงค์ในหมู่บ้าน
  3. ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลายและพ่นยุงในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,710
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กนักเรียน 2.ลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในโรงเรียนลดลงและชุมชน พื้นที่รอบๆบ้านประชาชนในชุมชนสะอาดน่าอยู่ขึ้น 3.เกิดความร่วมมือร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนัก ถึงภัยโรคไข้เลือดออกและเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลายและพ่นยุงในชุมชน

วันที่ 7 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-แกนนำสาธารณสุข(อสม.)ชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย -พ่นยุงในครัวเรือนที่มีผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้งห่างกัน 1 สัปดาห์และในโรงเรียนก่อนเปิดเทอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-11.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กนักเรียน ร้อยละ 80 -1.2ค่า HI , ค่า CI ลดลง ร้อยละ 60 -1.3ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ  ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม ร้อยละ 80 -1.4สามารถสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหา และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 60 -1.5ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนัก ถึงภัยโรคไข้เลือดออกและเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ร้อยละ 60 -1.6ความชุกของลูกน้ำยุงลายลดลง

 

4,710 0

2. กิจกรรม Big Cleaning Day

วันที่ 27 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.1 กิจกรรมย่อย...ทำความสะอาดในชุมชุนที่อาจเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายร่วมกัน 3 เดือนครั้ง ทั้งหมด 5 หมู่บ้าน(1,2,3,4,7) หมู่บ้านละ 4 ครั้ง 1.2 กิจกรรมย่อย....เดินรณรงค์ในหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 ครั้ง ทั้งหมด 5 หมู่บ้าน(1,2,3,4,7) 1.3 กิจกรรมย่อย ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลายและพ่นยุงในครัวเรือนที่มีผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้งห่างกัน 1 สัปดาห์และในโรงเรียนก่อนเปิดเทอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กนักเรียน 2.ลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในโรงเรียนลดลงและชุมชน พื้นที่รอบๆบ้านประชาชนในชุมชนสะอาดน่าอยู่ขึ้น 3.เกิดความร่วมมือร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนัก ถึงภัยโรคไข้เลือดออกและเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

4,710 0

3. เดินรณรงค์ในหมู่บ้าน

วันที่ 27 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เชิญชวนเดินรณรงค์ในหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้นำฝ่ายปกครองในชุมชนเข้ามามีบทบาทในการเชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทำความสะอาดบริเวณรอบๆบ้านของตนเพื่อแก้ปัญหา     

 

4,710 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

หลังจากได้จัดกิจกรรมBig Cleaning Day ชุมชนมีความเป็นระเบียบ สะอาด ปราศจากสิ่งของที่จะทำให้เกิดภาวะน้ำขัง ลดการเกิดลูกน้อายุงลาย ประชาชนปลอดภัยต่อการระบาดของไข้เลือดออก และพบว่าประชาชนยังไม่มีผู้ได้รับผลกระทบต่อไข้เลือดออกหลังจากจัดกิจกรรมครั้งนี้ ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
4710.00 4710.00

4710 ราย คือจำนวนประชากรในเขตชุมชนที่ได้จัดกิจกรรม ไม่ใช่ผู้ที่เป็นไข้เลือดออก

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4710 4710
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,710 4,710
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม Big Cleaning Day (2) เดินรณรงค์ในหมู่บ้าน (3) ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลายและพ่นยุงในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวกะรุบีร่วมใจ ห่างไกลไข้เลือดออก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยุพิน สาเมาะ และนางสะปีนะซีบะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด