กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมวัณโรค ”

ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ปากแจ่ม

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1536-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมวัณโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1536-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้งานวัณโรคเป็นตัวชี้วัดภายใต้คำรับรองปฏิบัติราชการของกระทรวงสาธารณสุข ( Performance agreement : PA) ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ ๒ บริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ ๔ การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ โดยมีเป้าหมาย คือ “ อัตราการรักษาสำเร็จของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ร้อยละ๘๕ ”ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ประมาณ 120,000 รายหรือคิดเป็น 172 ต่อประชากรแสนคน การจะบรรลุเป้าหมายยุติวัณโรค ระยะ 20 ปี (2559-2578 ) นั้น ประเทศไทยต้องมีอัตราลดอุบัติการณ์เฉลี่ยร้อยละ12.5 ต่อปี แต่ระยะ 15 ปีที่ผ่านมา(พศ.2543-2558) มีอัตราลดลงของอุบัติการณ์เพียงร้อยละ 2.7 ต่อปี จากผลการดำเนินงานวัณโรคที่ยังไม่บรรลุ เป้าหมายสำคัญ เช่น ปีงบประมาณ 2557มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 67,789 รายคิดเป็นอัตรา ความครอบคลุมการรักษาวัณโรค เพียงร้อยละ 59ปีงบประมาณ 2558 รายงานผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 62,154 ราย คิดเป็นอัตราความครอบคลุมการรักษาวัณโรค เพียงร้อยละ 55.3 และในปีงบประมาณ 2559มีรายงานผู้ป่วยวัณโรค ขึ้นทะเบียนรักษา 67,193 ราย คิดเป็นอัตราความครอบคลุมการรักษาวัณโรคเพียงร้อยละ 59.4 ทิศทางจากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นการดำเนินงานวัณโรคของไทยพบปัญหา ทั้งการวินิจฉัยและตรวจพบผู้ป่วยเพียงร้อยละ 55.3 ของจำนวนผู้ป่วยวัณโรคใหม่ที่คาดประมาณ อีกทั้งผลการรักษายังต้องเพิ่มความสำเร็จการรักษาให้สูงขึ้นดังนั้นแผนงานควบคุมวัณโรคจึงกำหนดแนวทางการควบคุมโรคโดยมุ่งเน้น “ค้นให้พบ จบด้วยหายพัฒนาระบบและเครือข่าย นโยบายมุ่งมั่น สร้างสรรค์นวัตกรรม การยุติปัญหาด้านวัณโรคให้ได้ จำเป็นต้องเพิ่มการเข้าถึงการค้นหาและนำผู้ป่วยที่อยู่ในชุมชน มารับการรักษาให้หายขาดโดยเร็ว เพื่อตัดวงจรการแพร่กระจายเชื้อประกอบกับผู้ป่วยวัณโรคแต่ละรายหากไม่ได้รับการรักษา ก็จะแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น ขณะเดียวกันอาการของผู้ป่วยจะลุกลามต่อไปจนกระทั่งป่วยหนักเมื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา จะมีโอกาสหายได้ยากกว่าผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น และบางรายเสียชีวิตก่อนรักษาครบจึงจำเป็นต้องเร่งรัดดำเนินการค้นหาคัดกรองเชิงรุกในประชากรกลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้งเพื่อให้ผู้ที่ป่วยเป็นวัณโรคแอบแฝงอยู่ได้เข้าถึงบริการตรวจรักษาอย่างทันท่วงทีซึ่งนอกจากจะลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยก่อนเวลาอันควรแล้ว ยังลดการแพร่ระบาดของวัณโรคในพื้นที่ตำบลปากแจ่ม ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่มจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมวัณโรค ตำบลปากแจ่มอำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี๒๕๖1ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนทั่วไปและประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมวัณโรคในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมวัณโรค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1536-1-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.ปากแจ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด