กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ ส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายซอหมาด บาหลัง

ชื่อโครงการ ส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L8406-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L8406-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพมารดาและทารกปลอดภัยมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัยทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ชุมชนและสังคมให้การสนับสนุนและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพและเสริมทักษะการดูแลหลังคลอดทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัยการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก เป็นเป้าหมายสำคัญประการหนึ่ง ในแผนงานส่งเสริมสุขภาพโดยมีเป้าหมาย คือการเข้าถึงบริการ และการมีสุขภาพที่ดีของแม่และเด็ก
จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน ปี 2559-2560พบว่าอัตราทารกแรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 22.7 และ 35.61 (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 50)อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมร้อยละ 2.73 และ 7.53 (เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 7) อัตรา หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 13.63 และ 13.40(เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 10) อัตราการฝากครรภ์เร็วก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 74.24 และ 72.18 ( เกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ) จากปัญหางานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าวข้างต้น อาจส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัย จึงจำเป็นต้องได้รับการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาในระยะยาว และต่อเนื่องเนื่องจากหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และเด็กเกิดใหม่ในชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปีหญิงตั้งครรภ์จะต้องมีความรู้ในเรื่องปัจจัยเสี่ยงของการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอดหญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับการบริการฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด งานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูกเพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้องได้
  2. 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้ง ตามเกณฑ์ ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒ สัปดาห์และได้คลอดในโรงพยาบาล
  3. 3 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ15–19ปี
  4. 4 เพื่อสร้างขวัญและให้กำลังใจแก่หญิงตั้งครรภ์และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ พร้อมทั้งสร้างแกนนำนมแม่ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ให้ความรู้การป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงหลังคลอดอายุน้อยกว่า 20 ปี
  2. 2.กิจกรรม สำรวจค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชนเพื่อส่งต่อให้รับการฝากครรภ์ทันที ก่อน 12 สัปดาห์ โดยอสม. ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ติดตามเยี่ยมขณะตั้งครรภ์ เพื่อดูแลเรื่องการรับประทานยา การรับประทานอาหารเสริมธาตุเหล็ก และการปฏิบัติตัว พร้อ
  3. 3.กิจกรรมเสริมสร้างทักษะความรู้ตามหลักสูตร โรงเรียนพ่อแม่
  4. 4.กิจกรรมประกวดหนูน้อยนมแม่ใน รพ.สต. และแม่ตัวอย่างที่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 115
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้
๒. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒ สัปดาห์และได้คลอดในโรงพยาบาล
๓. แกนนำอนามัยแม่และเด็กมีความรู้และทักษะในการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้ 4. มีต้นแบบหนูน้อยนมแม่ และแม่ตัวอย่างเกิดขึ้นในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้องได้
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง หลังการอบรม มากกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

2 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้ง ตามเกณฑ์ ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒ สัปดาห์และได้คลอดในโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
0.00

 

3 3 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ15–19ปี
ตัวชี้วัด : -ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15 – 19 ปี ไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

4 4 เพื่อสร้างขวัญและให้กำลังใจแก่หญิงตั้งครรภ์และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : -ร้อยละของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 205
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 115
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้องได้ (2) 2  เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้ง  ตามเกณฑ์  ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒ สัปดาห์และได้คลอดในโรงพยาบาล (3) 3 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ15–19ปี (4) 4 เพื่อสร้างขวัญและให้กำลังใจแก่หญิงตั้งครรภ์และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์  พร้อมทั้งสร้างแกนนำนมแม่ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ให้ความรู้การป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงหลังคลอดอายุน้อยกว่า 20 ปี (2) 2.กิจกรรม สำรวจค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชนเพื่อส่งต่อให้รับการฝากครรภ์ทันที ก่อน 12 สัปดาห์                  โดยอสม. ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ  ติดตามเยี่ยมขณะตั้งครรภ์ เพื่อดูแลเรื่องการรับประทานยา  การรับประทานอาหารเสริมธาตุเหล็ก และการปฏิบัติตัว  พร้อ (3) 3.กิจกรรมเสริมสร้างทักษะความรู้ตามหลักสูตร โรงเรียนพ่อแม่ (4) 4.กิจกรรมประกวดหนูน้อยนมแม่ใน รพ.สต. และแม่ตัวอย่างที่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L8406-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอหมาด บาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด