กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมเยาวชนวัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ สู่อนาคตที่ดี ประจำปี 2561 ”
ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางซูซานา อาแวตาโละ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมเยาวชนวัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ สู่อนาคตที่ดี ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2518-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเยาวชนวัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ สู่อนาคตที่ดี ประจำปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเยาวชนวัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ สู่อนาคตที่ดี ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเยาวชนวัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ สู่อนาคตที่ดี ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2518-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังคงเป็นปัญหา สำคัญของไทย เพราะการติดโรคทางเพศสัมพันธ์นั้นได้ชี้ให้เห็นถึง การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดการ ติดเชื้อเอชไอวีได้ เมื่อจำแนกรายอายุของผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แล้วพบว่า กลุ่มที่มีอายุน้อย 15–24 ปี ซึ่งเป็นเยาวชนและ อยู่ในวันเรียน พบในสัดส่วนที่มากที่สุด และมีสัดส่วนการติดป่วย ด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มากขึ้นทุกปี แสดงให้เห็นว่า การติดโรคทางเพศสัมพันธ์นั้นมีแนวโน้มการป่วยในผู้ที่มีอายุน้อยลงไปทุกปีซึ่งสอดคล้องกับการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ เอชไอวีในกลุ่มนักเรียนพบว่า “สัดส่วนของนักเรียนชายและหญิงที่ เคยมีเพศสัมพันธ์แล้วยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกนั้นมีอายุเฉลี่ยน้อยลงทุกกลุ่ม นอกจากนี้ยังพบว่า นักเรียนหญิงมีการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในระดับต่ำ ส่วนนักเรียนชายมีการใช้ถุงยางอนามัยเพิ่มขึ้น ถึงแม้นักเรียนชายจะมีการใช้ถุงยางอนามัยมากขึ้น แต่ก็ยังมีอัตราการใช้ ถุงยางอนามัยที่ต่ำมาก ดังนั้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเยาวชนเรื่องเพศ เป็นมาตรการที่สำคัญซึ่งจะช่วยให้ เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเพศอย่างถูกต้องเหมาะสมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย มี ทัศนคติที่ดีต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ช่วยยับยั้งการมีเพศ สัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ช่วยลดจำนวนคู่นอน และเพิ่มอัตราการใช้ ถุงยางอนามัยซึ่งจะนำไปสู่การลดการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้เรื่องบทบาท และคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น
  2. เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมี ทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการ ดำรงชีวิต
  3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1) เด็กและเยาวชน มีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ 2) เด็กและเยาวชน มีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต 3) เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้เรื่องบทบาท และคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100ได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ได้เสริมสร้างภูมิกันพฤติกรรมทางเพศ
    1.00

     

    2 เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมี ทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการ ดำรงชีวิต
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100มีพฤติกรรมปฏิเสธพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิตได้
    1.00

     

    3 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้เรื่องบทบาท และคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น (2) เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมี ทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการ ดำรงชีวิต (3) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเยาวชนวัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ สู่อนาคตที่ดี ประจำปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 61-L2518-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางซูซานา อาแวตาโละ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด