โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรียะห์ กูทา อสม.ห้วยกระทิง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4115-2-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4115-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อที่นำโดยแมลง นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา โดยเฉพาะโรคไข้มาลาเรีย และโรคไข้เลือดออก เพราะเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน มีความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งทุกภาคส่วนได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมตลอดมา และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน แต่พบว่าปัญหาโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศเรื่อยมา สาเหตุหนึ่งที่โรคติดต่อที่นำโดยแมลงยังคงคุกคามชีวิตคือการที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจ ทำให้ไม่มีการร่วมกันป้องกันและควบคุมโรค การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมถึงทุกครัวเรือนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชนในการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การระบาดของโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในตำบลห้วยกระทิง ยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกมีอัตราป่วยที่สม่ำเสมอ มีขึ้นสูงและลดลงเป็นบางปี จากสถิติ 5 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2556 – ปี 2560 ,มีอัตราป่วยโรคมาลาเรีย 2,172.4 /1,314.2 /68.11 /1088.06 /423.09 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ และมีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 22.62 /22.62 /45.41 /101.21 /24.88 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือ ทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคดังกล่าว พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหานี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
ตำบลห้วยกระทิง พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรีย ยังคงมีผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลห้วยกระทิง เล็งเห็นถึงผลกระทบของโรคติดต่อที่นำโดยแมลง ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกัน ตลอดจนการรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์กลับอยู่ในสภาวะปกติ จึงได้จัดทำโครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเองครอบครัวและชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดน้อยลง
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และมีพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และมาลาเรีย
- เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
65
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชน มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรีย และโรคไข้เลือดออก
๒. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีจำนวนลดลง
๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ตำบลห้วยกระทิงปลอดโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก
๔. ช่วยให้ให้ประชาชนตื่นตัวและเฝ้าระวังในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561
วันที่ 16 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
๑. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตำบลห้วยกระทิง โดยมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยกระทิง เป็นที่ปรึกษาในการจัดโครงการ
๒. ชี้แจงโครงการแก่ผู้รับผิดชอบและสมาชิกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลห้วยกระทิง
๓. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในตำบลห้วยกระทิง
๔. อาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมกับ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ออกพื้นที่ประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนทราบพิษภัยของโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย และร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง พร้อมแจกทรายอะเบท
๕ .อาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ออกพื้นที่ค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง พร้อมทั้งค้นหายุงและสำรวจสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และในชุมชน
๖. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะในโรงเรียนและชุมชน
๗. พ่นหมอกควันในโรงเรียน มัสยิด และในชุมชน 6 เดือนครั้ง
๘. บูรณาการต่อเนื่องกับโครงการรณรงค์มาลาเรียของอบต.ห้วยกระทิง ซึ่งมีการพ่นสารเคมีติดผนังทั้งตำบลห้วยกระทิง ในวันที่ 9 – 10 เมษายน 2561 โดยการติดตามการระบาดระยะยาวของผู้ป่วยในตำบลห้วยกระทิง และลงพ่นสารเคมีตกค้างและพ่นหมอกควัน บ้านผู้ป่วยและบ้านละแวกเดียวกันทุกครั้งที่มีผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย และโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นในตำบลห้วยกระทิง
๙. ประเมินผลและสรุปผลโครงการ
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันโรคที่มียุง เป็นพาหะในโรงเรียนและชุมชน จำนวน 130 คน
(รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ)
- เด็กนักเรียนโรงเรียนกูวาและแบหอ จำนวน 65 คน
- ประชาชนในตำบลห้วยกระทิง จำนวน 65 คน
.พ่นหมอกควันและพ่นสารเคมีติดผนังในโรงเรียน มัสยิด และในชุมชน
(ค้นหาลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน และในชุมชน)
- โรงเรียนบ้านกูวา
- โรงเรียนบ้านแบหอ
- ศพด.บ้านบารู
- มัสยิดในตำบลห้วยกระทิง
- พื้นที่ระบาดของโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในตำบลห้วยกระทิง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชน มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรีย และโรคไข้เลือดออก
๒. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีจำนวนลดลง
๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ตำบลห้วยกระทิงปลอดโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก
๔. ช่วยให้ให้ประชาชนตื่นตัวและเฝ้าระวังในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
130
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดน้อยลง
ตัวชี้วัด : - ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียลง ร้อยละ 30 จากปีที่ผ่านมา
- ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลง ร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และมีพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และมาลาเรีย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00
3
เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : - บ้านผู้ป่วยที่เป็นโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก ได้รับการพ่นหมอกควัน และพ่นสารเคมีติดผนัง ร้อยละ 80
- ประชาชนเข้าร่วมในการทำกิจกรรม ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
65
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดน้อยลง (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และมีพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และมาลาเรีย (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4115-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรียะห์ กูทา อสม.ห้วยกระทิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรียะห์ กูทา อสม.ห้วยกระทิง
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4115-2-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4115-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อที่นำโดยแมลง นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา โดยเฉพาะโรคไข้มาลาเรีย และโรคไข้เลือดออก เพราะเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน มีความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งทุกภาคส่วนได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมตลอดมา และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน แต่พบว่าปัญหาโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศเรื่อยมา สาเหตุหนึ่งที่โรคติดต่อที่นำโดยแมลงยังคงคุกคามชีวิตคือการที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจ ทำให้ไม่มีการร่วมกันป้องกันและควบคุมโรค การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมถึงทุกครัวเรือนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชนในการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การระบาดของโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในตำบลห้วยกระทิง ยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกมีอัตราป่วยที่สม่ำเสมอ มีขึ้นสูงและลดลงเป็นบางปี จากสถิติ 5 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2556 – ปี 2560 ,มีอัตราป่วยโรคมาลาเรีย 2,172.4 /1,314.2 /68.11 /1088.06 /423.09 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ และมีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 22.62 /22.62 /45.41 /101.21 /24.88 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือ ทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคดังกล่าว พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหานี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
ตำบลห้วยกระทิง พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรีย ยังคงมีผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลห้วยกระทิง เล็งเห็นถึงผลกระทบของโรคติดต่อที่นำโดยแมลง ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกัน ตลอดจนการรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์กลับอยู่ในสภาวะปกติ จึงได้จัดทำโครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเองครอบครัวและชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดน้อยลง
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และมีพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และมาลาเรีย
- เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 65 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชน มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรีย และโรคไข้เลือดออก ๒. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีจำนวนลดลง ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ตำบลห้วยกระทิงปลอดโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก ๔. ช่วยให้ให้ประชาชนตื่นตัวและเฝ้าระวังในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561 |
||
วันที่ 16 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำวิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) ๑. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตำบลห้วยกระทิง โดยมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยกระทิง เป็นที่ปรึกษาในการจัดโครงการ ๒. ชี้แจงโครงการแก่ผู้รับผิดชอบและสมาชิกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลห้วยกระทิง ๓. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในตำบลห้วยกระทิง ๔. อาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมกับ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ออกพื้นที่ประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนทราบพิษภัยของโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย และร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง พร้อมแจกทรายอะเบท ๕ .อาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ออกพื้นที่ค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง พร้อมทั้งค้นหายุงและสำรวจสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และในชุมชน ๖. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะในโรงเรียนและชุมชน ๗. พ่นหมอกควันในโรงเรียน มัสยิด และในชุมชน 6 เดือนครั้ง ๘. บูรณาการต่อเนื่องกับโครงการรณรงค์มาลาเรียของอบต.ห้วยกระทิง ซึ่งมีการพ่นสารเคมีติดผนังทั้งตำบลห้วยกระทิง ในวันที่ 9 – 10 เมษายน 2561 โดยการติดตามการระบาดระยะยาวของผู้ป่วยในตำบลห้วยกระทิง และลงพ่นสารเคมีตกค้างและพ่นหมอกควัน บ้านผู้ป่วยและบ้านละแวกเดียวกันทุกครั้งที่มีผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย และโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นในตำบลห้วยกระทิง ๙. ประเมินผลและสรุปผลโครงการ 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันโรคที่มียุง เป็นพาหะในโรงเรียนและชุมชน จำนวน 130 คน (รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ) - เด็กนักเรียนโรงเรียนกูวาและแบหอ จำนวน 65 คน - ประชาชนในตำบลห้วยกระทิง จำนวน 65 คน .พ่นหมอกควันและพ่นสารเคมีติดผนังในโรงเรียน มัสยิด และในชุมชน (ค้นหาลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน และในชุมชน) - โรงเรียนบ้านกูวา - โรงเรียนบ้านแบหอ - ศพด.บ้านบารู - มัสยิดในตำบลห้วยกระทิง - พื้นที่ระบาดของโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในตำบลห้วยกระทิง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ประชาชน มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรีย และโรคไข้เลือดออก ๒. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีจำนวนลดลง ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ตำบลห้วยกระทิงปลอดโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก ๔. ช่วยให้ให้ประชาชนตื่นตัวและเฝ้าระวังในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
|
130 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดน้อยลง ตัวชี้วัด : - ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียลง ร้อยละ 30 จากปีที่ผ่านมา - ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลง ร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และมีพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และมาลาเรีย ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค ตัวชี้วัด : - บ้านผู้ป่วยที่เป็นโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก ได้รับการพ่นหมอกควัน และพ่นสารเคมีติดผนัง ร้อยละ 80 - ประชาชนเข้าร่วมในการทำกิจกรรม ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 65 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดน้อยลง (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และมีพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และมาลาเรีย (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2561
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการประชาชนห้วยกระทิงร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อนำโดยแมลง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4115-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรียะห์ กูทา อสม.ห้วยกระทิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......