กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุตำบลปากแจ่ม ”

ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ปากแจ่ม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุตำบลปากแจ่ม

ที่อยู่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1536-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุตำบลปากแจ่ม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุตำบลปากแจ่ม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุตำบลปากแจ่ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1536-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จากการสำรวจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปี ๒๕๕๘ พบว่ามีผู้สูงอายุร้อยละ ๑๕.๙ และคาดว่าในปี ๒๕๗๓ จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ คือมีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ ๒๐ ปัญหาสุขภาวะในผู้สูงอายุที่พบได้บ่อยคือโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รวมถึงการสูญเสียฟัน โดยผู้สูงอายุที่มีฟันน้อยกว่า ๒๐ ซี่ หรือ ๔ คู่สบ พบร้อยละ ๓๗.๔ จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากประเทศไทยปี ๒๕๕๕ ด้านการมีฟันที่ใช้งานได้อย่างน้อย ๒๐ ซี่ ช่วงอายุ ๓๕-๔๔ ปี พบร้อยละ ๙๗ ช่วงอายุ ๖๐-๗๔ ปี พบร้อยละ ๕๗.๘ และช่วงอายุ ๘๐-๘๙ ปี พบร้อยละ ๒๓.๕ จะเห็นได้ว่าช่วงอายุมากขึ้นแนวโน้มการสูญเสียฟันเพิ่มมากขึ้น การมีฟันน้อยกว่า ๔ คู่สบจะลดทอนประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหาร ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย นอกจากนี้สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ได้เผยประเด็นปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ๗ ประเด็น ได้แก่ ๑.การสูญเสียฟันและปัญหาจากการใส่ฟัน พบว่ามีการสูญเสียฟันร้อยละ ๙๔ ในจำนวนนี้เป็นการสูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ ๑๐๒.ปัญหาฟันผุและรากฟันผุ พบว่าฟันผุร้อยละ ๙๖ และรากฟันผุร้อยละ ๒๑๓.โรคปริทันต์ โดยพบโรคปริทันต์ระยะรุนแรงร้อยละ ๖๘ ๔.แผลและมะเร็งช่องปาก พบ ๔-๕ คนต่อประชากรแสนคน โดยจะพบส่วนใหญ่ในวัยกลางคนและผู้สูงอายุ ๕.น้ำลายแห้ง ๖.ฟันสึก ๗.สภาวะช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ กระทรวงสาธาณสุขมีเป้าหมายแผนงานทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศไทย พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๕ คือ ๑.ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดีและมีฟันใช้งานได้อย่างเหมาะสม คือมีฟันอย่างน้อย ๒๐ ซี่ หรือ ๔ คู่สบฟันหลัง ๒.มีนวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุอย่างน้อย ๕ ใน ๗ ประเด็น โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้แก่กลุ่มติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียง รวมถึงกลุ่มวัยก่อนเข้าสูงอายุ ๔๐ ปีขึ้นไป จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุประจำปีของจังหวัดตรังพบว่าผู้สูงอายุมีแนวโน้มการสูญเสียฟันสูงเมื่อเทียบกับการได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการได้รับการใส่ฟัน ผลการสำรวจ ปี ๒๕๖๐ พบว่า ผู้สูงอายุมีฟันแท้ในช่องปากใช้งานได้ ๒๐ ซี่ เฉลี่ยร้อยละ ๔๓.๗ ผู้สูงอายุที่มีฟันคู่สบฟันหลังใช้งานได้ ๔ คู่ขึ้นไปร้อยละ ๗๒.๔ซึ่งสาเหตุการสูญเสียฟันส่วนใหญ่มาจากโรคฟันผุและปริทันต์ นอกจากนี้ปัญหาที่พบได้น้อยแต่มีความรุนแรงถึงชีวิต คือการป่วยเป็นมะเร็งช่องปาก โดยผู้ป่วยมะเร็งในช่องปากปี ๒๕๕๘ พบ ๑๔๔ คน ปี ๒๕๕๙ พบ ๑๖๑ คน และปี ๒๕๖๐ พบ ๑๘๙ คน จะเห็นว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ และมะเร็งช่องปากพบมาก ติด ๑ ใน ๑๐ ของมะเร็งที่พบได้
ผู้สูงอายุในเขตตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังเป็นอีกพื้นที่หนึ่งซึ่งเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จากผลการสำรวจสภาวะช่องปากผู้สูงอายุจังหวัดตรัง ปี ๒๕๖๐ พบผู้สูงอายุมีฟันแท้ในช่องปากใช้งานได้ ๒๐ ซี่ เฉลี่ยร้อยละ ๔๔.๘ ผู้สูงอายุที่มีฟันคู่สบฟันหลังใช้งานได้ ๔ คู่ขึ้นไปร้อยละ ๖๘ ซึ่งมีประมาณครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบปัญหาสุขภาพช่องปากต่างๆ เช่น ปริทันต์อักเสบ ฟันผุ น้ำลายแห้ง รวมถึงมะเร็งช่องปากโดย ผู้ป่วยมะเร็งในช่องปากปี ๒๕๕๘ พบ ๒๗ คน ๒๕๕๙ พบ ๓๐ คน และ ปี ๒๕๖๐ พบ ๓๖ คน โดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยสูงอายุ และมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ดังนั้นการดูแลเชิงส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูจึงเป็นสิ่งสำคัญ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม เล็งเห็นถึงความสำคัญของทันตกรรมในผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุในเขตตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด ประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุและความจำเป็นที่ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแล พร้อมทั้งส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากที่เหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 255
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีสภาวะช่องปากที่ดีขึ้นสามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองได้ เกิดเครือข่ายในการดูแลสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายเป็นรูปธรรมมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 255
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 255
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุตำบลปากแจ่ม จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1536-1-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.ปากแจ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด