กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หานโพธิ์


“ โครงการพัฒนาทีมหมอครอบครัว ”

รพ.สต.หานโพธิ์ ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสมมาตร สุขดำ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทีมหมอครอบครัว

ที่อยู่ รพ.สต.หานโพธิ์ ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาทีมหมอครอบครัว จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.หานโพธิ์ ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หานโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทีมหมอครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาทีมหมอครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.หานโพธิ์ ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หานโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสุขภาพต่างๆ ซึ่งปัญหาที่สำคัญของครอบครัว ได้เเก่การเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ โรคกระเพาะ ปัญหาโรคไม่ติดต่อ เเละปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งล้วนเเต่เป็นปัญหาสุขภาพที่มีผลกระทบต่อครอบครัวในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชืพ ค่าใช้จ่าย เเละด้านจิตใจ ซึ่งวิธีการดูเเลสุขภาพของครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย พบว่าครอบครัวส่วนใหญ่ จะทราบวิธีการดูเเลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดี บางส่วนยังมีการดูเเลที่ไม่ถูกต้อง เช่น ืการดูเเลฟื้นฟูผู้พิการ เพื่อลดปัญหาเเผลกดทับ การดูเเลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้นทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะเเทรกซ้อนอื่นๆ เป็นต้นซึ่งถ้ามีวิธีการดูเเลที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้น ทั้งที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้ ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากผู้ป่วยขาดความรู้ หมดกำลังใจ ท้อเเท้ผู้ดูเเลขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือชุมชนขาดเเนวทางในการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟู ถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนเเละครอบครัวสามารถดูเเลตนเองได้เเละมีระบบการเฝ้าระวัง ดูเเลปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้านเเละผู้พิการ เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้น จากการสำรวจข้อมูลพบว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหานโพธิ์ รับผิดชอบ 5 หมู่บ้าน ข้อมูลป่วยเรื้อรังเเละมีดังนี้ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 143 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 265 คน ผู้ป่วยเป็นทั้งโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง จำนวน 58 คน ผู้พิการเเละผู้สูงอายุป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 50 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหานโพธิ์ มีจำนวนบุคลากรสาธารณสุขมีไม่เพียงพอเเก่การให้บริการโดยเฉพาะการให้บริการในชุมชน ซึ่งพบว่ายังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่ยังเข้าไปไม่ถึง เเต่เนื่องจากยังมีองค์กรต่างๆ ในชุมชน อีกมากมายที่ถ้าไดมีการพัฒนาศักยภาพ ให้สามารถดูเเลผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุติดบ้าน เเละผู้พิการในชุมชนได้ น่าจะเป็นอีกทางหนึ่งที่สามารถทำได้เเละก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวผู้ป่วยเเละผู้พิการดังนั้น คณะผู้จัดทำจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำ โครงการพัฒนาทีมหมอครอบครัว รพ.สต.หานโพธิ์ ประจำปี 2561 เพื่อผู้ป่วยเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตามเยี่ยมดูเเลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ได้รับการดูเเลอย่างต่อเนื่องเเละให้มีสุขภาพจิตที่ดีของครอบครัวในการดูเเลสุขภาพของตนเอง โดยมีบุคลากรสาธารสุขเป็นพี่เลี้ยง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความรู้ให้ อสม ในการดูแลผู้ป่วย
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ผู้พิการ และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพในชุมชนได้รับการดูแลและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้อง โดยทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน จำนวน 81 คน จำนวน 1 วัน และลงปฏิบัติงานจริง จำนวน 3 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการเเละผู้สูงอายุติดบ้านได้รับการเยี่ยมบ้านร้อยละ 100 2.ผู้ป่วยเเละผู้พิการในชุมชนมีความรู้เเละมีกำลังใจในการดูเเลสุขภาพของตนเอง 3.หมอครอบครัวสามารถดูเเลสุขภาพของผู้โรคเรื้อรังเเละผู้พิการในชุมชนได้ 4.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูเเลสุขภาพของประชาชน 5.อัตราความรุนเเรงของโรคลดลง อัตราความพิการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความรู้ให้ อสม ในการดูแลผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ผู้พิการและผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ผู้พิการ และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพในชุมชนได้รับการดูแลและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้อง โดยทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความรู้ให้ อสม ในการดูแลผู้ป่วย (2) เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ผู้พิการ และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพในชุมชนได้รับการดูแลและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้อง โดยทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน จำนวน 81 คน จำนวน 1 วัน และลงปฏิบัติงานจริง จำนวน 3 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาทีมหมอครอบครัว จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมมาตร สุขดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด