กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์เหมรา

ชื่อโครงการ รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2561-L5309-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรครายงานสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 2 เมษายน มีผู้เสียชีวิตจำนวน 7 ราย ในพื้นที่จังหวัด สุรินทร์ สงขลา ตรัง นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ์ บุรีรัมย์ และพัทลุง ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่ถูกสุนัขกัดหรือข่วน แล้วไม่ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกัน ส่วนจำนวนหัวสัตว์ที่ให้ผลบวกต่อเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า พบในหัวสุนัข 537 หัว วัวหรือโค 32 หัว และ แมว 20 หัว รวมทั้งหมด 589 หัว จาก 44 จังหวัด ขณะที่พื้นที่เสี่ยงต้องเฝ้าระวัง ได้แก่ สุรินทร์ นครราชสีมา สงขลา เชียงราย มุกดาหาร และนครศรีธรรมราช ในพื้นที่จังหวัดสตูล พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในหัวสุนัข 1 ตัว ซึ่งเป็นสุนัขอยู่ที่ หมู่ที่ 16 ตำบลละงู อำเภอละงู โรคพิษสุนัขบ้าสามารถพบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว โค กระบือ สุกร เป็นต้น ซึ่งในประเทศไทยจะพบมากในสุนัข และแมว จึงได้มีการดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารีตั้งแต่ปีงบประมาณ 2560 มีระยะเวลาดำเนินโครงการถึงปี 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย สำหรับการดำเนินโครงการแบ่งออกเป็น 8 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นการเฝ้าระวังป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ มีกรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยงานหลัก การป้องกันและควบคุมโรคในคน มีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานหลัก กรมประชาสัมพันธ์ ดำเนินการให้ความรู้ข้อมูลกับประชาชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีบทบาทในการดำเนินงานป้องกันโรคในสุนัข เช่น การฉีดวัคซีน การจัดการที่พักพิงของสุนัขจรจัด การบูรณาการข้อมูลข่าวสารต่างๆ รวมทั้งการติดตามผลและการพัฒนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับโรคพิษสุนัขบ้า ทั้งนี้เพื่อให้สามารถป้องกันและมีการจัดการที่ดีขึ้น ดังนั้น เทศบาลตำบลกำแพง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีภาระหน้าที่ต้องเฝ้าระวังและควบคุมโรคที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น จึงได้ร่วมกับสำนักงานปศุสัตว์อำเภอละงูและสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสตูล จัดทำโครงการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว ประจำปี ๒๕๖๑(ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรคคนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี) เพื่อให้การควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ดำเนินได้อย่างต่อเนื่อง โดยการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ และส่งผลให้ลดโอกาสการแพร่เชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าสู่คนต่อไป รวมทั้งเพื่อกระตุ้นการสร้างจิตสำนึกสาธารณะแก่ประชาชนให้มีความรับผิดชอบนำสัตว์เลี้ยงของตนไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้ามากขึ้น ให้สามารถป้องกันตนเองและสัตว์เลี้ยง จากโรคพิษสุนัขบ้าส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงสุนัขรักถูกวิธี เป็นการลดความเสี่ยงของประชาชนจากการถูกสุนัขที่สงสัยหรือเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดและป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคนโดยการนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  3. เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างเทศบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขและแมวกัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  2. สำรวจข้อมูลสุนัขและแมวในเขตเทศบาลโดยอาสาสมัครสาธารณสุข
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  4. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและแนวทางป้องกัน
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ได้ครอบคลุมร้อยละ 80 ในวันรณรงค์
  2. ประชาชนให้ความสำคัญในการเลี้ยงและดูแลสุนัขและแมวอย่างถูกวิธีและเห็นความสำคัญในการนำสุนัขและแมวไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  3. เกิดความร่วมมือประสานงานกันในการรณรงค์ฉีดวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้าให้แก่สุนัขและแมวจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ได้ครอบคลุมร้อยละ 80 ในวันรณรงค์
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคนโดยการนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคนโดยการนำสุนัขไป รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากจำนวนสุนัขและแมวในเขตเทศบาล
0.00

 

3 เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างเทศบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขและแมวกัด
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า  และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคนโดยการนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (3) เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างเทศบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขและแมวกัด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (2) สำรวจข้อมูลสุนัขและแมวในเขตเทศบาลโดยอาสาสมัครสาธารณสุข (3) ประชาสัมพันธ์โครงการฯ (4) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและแนวทางป้องกัน (5) สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมศักดิ์เหมรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด