กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิภา กิติศักดิ์รณกรณ์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสาธารณสุข โดยพบว่า มากกว่าร้อยละ ๕๐ ของสาเหตุการตายมาจากกลุ่มโรคนี้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และเป็นสาเหตุทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมาย ซึ่งทำให้ผู้ป่วยทุพพลภาพ หรือถึงแก่ชีวิต อัมพฤกษ์ อัมพาต ตาบอด ไตวาย เท้าหรือขาพิการ เป็นต้น ประกอบกับการขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง จะทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเกิดความท้อถอย ไม่อยากรักษา ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวเร็วขึ้น การที่ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค การปฏิบัติตัวที่ดี และรับการรักษาอย่างถูกต้องจะช่วยป้องกัน หรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวได้ และทำให้กลุ่มผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ยืนยาวอย่างมีความสุข ลดภาระต่อครอบครัวและสังคมต่อไป
จากข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางา ๓ ปีย้อนหลังพบว่า ปีพุทธศักราช ๒๕๕๘, ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ ตามลำดับดังนี้ จำนวนผู้ป่วย ๖๙, ๗๓ และ ๘๔ คน กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน ๒๓๕, ๑๒๒ และ ๑๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๘๖, ๘.๐๔ และ ๙.๒๐ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒๒๓, ๕๒๔ และ ๓๘๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๖๙, ๑๗.๓๔ และ๒๓.๙๘ ตามลำดับและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากผลการดำเนินงานในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา พบว่าอัตราการผิดนัดของผู้ป่วยเฉลี่ย ๑๐ คนต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ ซึ่งจะพบอัตราการผิดนัดในผู้ป่วยเบาหวานเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากผู้ป่วยเบาหวานต้องไปทำงานตอนเช้า บางรายรอรับยาทันทีหลังเจาะระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้รับประทานอาหารระหว่างรอคิวรับยา บางรายต้องรอคิวรับยานาน เป็นต้น เหล่านี้ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่ได้มารับยาในวันดังกล่าว ศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางาเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้คิดรูปแบบในการพัฒนาระบบบริการขึ้น เพื่อให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการแบบบูรณาการครอบคลุมทุกมิติของการเจ็บป่วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
  2. ๒. เพื่อลดขั้นตอนในการรับบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ๓.เพื่อให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระบบบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๓.๑ เจาะเลือดประจำปีในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๓.๒ เจาะเลือดปลายนิ้วแก่ผู้ป่วยเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
  2. ๗. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในโครงการ (จัดบอร์ด, ไวนิล, เอกสารแผ่นพับ ฯลฯ)
  3. กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรม อสม.เชี่ยวชาญในการให้การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้แก่ การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดและการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
  4. กิจกรรมที่ ๒ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 76
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๒. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามมาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ๓. ผู้ป่วยรับบริการมีความพึงพอใจในระบบบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ๑. ระบบบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
0.00

 

2 ๒. เพื่อลดขั้นตอนในการรับบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ๒. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระบบบริการ มากกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 ๓.เพื่อให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระบบบริการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 76
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน (2) ๒. เพื่อลดขั้นตอนในการรับบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) ๓.เพื่อให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระบบบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๓.๑ เจาะเลือดประจำปีในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๓.๒ เจาะเลือดปลายนิ้วแก่ผู้ป่วยเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (2) ๗. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในโครงการ (จัดบอร์ด, ไวนิล, เอกสารแผ่นพับ ฯลฯ) (3) กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรม อสม.เชี่ยวชาญในการให้การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้แก่ การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดและการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (4) กิจกรรมที่ ๒ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิภา กิติศักดิ์รณกรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด