กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เฝ้าระวังความดันโลหิตสูง- เบาหวาน หมู่ที่ 1 ”
ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1




ชื่อโครงการ เฝ้าระวังความดันโลหิตสูง- เบาหวาน หมู่ที่ 1

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังความดันโลหิตสูง- เบาหวาน หมู่ที่ 1 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังความดันโลหิตสูง- เบาหวาน หมู่ที่ 1



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังความดันโลหิตสูง- เบาหวาน หมู่ที่ 1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,322.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากแบบแผนการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป การดำรงชีวิตประจำวันที่รีบเร่ง การบริโภคที่ต่างจากเดิม การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารรสเค็มจัด อาหารมัน รวมทั้งมีการแข่งขันสูงขึ้นเพื่อความอยู่รอด ก่อให้เกิดความเครียดและยังขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมดังกล่าวมีความสัมพันธ์ชัดเจนต่อสุขภาพ การเกิดโรคต่างๆ การบาดเจ็บและการเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ปัญหาสาธารณสุขของไทยจึงมีแนวโน้มเป็นโรคติดต่อมากขึ้น โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรัง ไม่หายขาดต้องรักษาไปตลอดชีวิต สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อระบบหัวใจ สมอง ไต และดวงตา ซึ่งนับว่าเป็นอวัยวะที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต ในระยะแรกของการเป็นโรคความดันโลหิตสูงจะไม่แสดงอาการใดๆ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยไม่ทราบว่าตนเองมีความดันโลหิตสูง จึงไม่มีการปรับพฤติกรรมให้เหมาะสมในการดำรงชีวิต แต่การดำเนินของโรคยังคงอยู่อย่างต่อเนื่อง เมื่อค่าความดันโลหิตสูงขึ้นเรื่อยๆ จะบั่นทอนอายุขัยของคนเหล่านี้ เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสองและโรคหัวใจถึงสามเท่าตัว การที่จะรู้ว่ามีภาวะความดันดลหิตสูงก็ต่อเมื่อวัดความดันโลหิตพบ เมื่อเริ่มมีอาการมึนงงศีรษะ นั่นแสดงว่ามีภาวะวามดันโลหิตสูงมานาน และได้บั่นทอนอายุลงไปมากแล้ว การเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะการเฝ้าระวังโรคเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการติดตามอย่างต่อเนื่อง เป็นการสังเกตพินิจพิจารณาโรคอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโรคและแนวโน้มความรุนแรงของโรค กลุ่มประชากรที่เสี่ยงต่อโรคและทราบถึงวิธีการควบคุมและป้องกันโรคได้ สำหรับการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงระดับหมู่บ้านได้กำหนดให้เป็นบทบาทของ อสม. หากการดำเนินงานเป็นไปอย่างเหมาะสมจะสามารถลดการเกิดโรครายใหม่ และผู้ป่วยได้รับการดูแลตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ลดการเกิดโรคแทรกซ้อน ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วย ทำให้ผู้ป่วยเกิดความตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเองเป็นการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นเมื่อมาวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในตำบลปันแต ตั้งแต่ปี 255๘ – 25๖๐ พบว่า ปี๒๕๕๘ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ ๓๙.๖๕ กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ ๒๐.๘๒ ปี๒๕๕๙ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ ๓๕.๖๘ กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ ๒๒.๘๑ ปี๒๕๖๐ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ ๒๓.๐๙ กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ ๒๕.๙๑ จะเห็นได้ว่า มีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปีซึ่งการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง ต้องมีการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชาชน อายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป เพื่อจัดระดับความดันโลหิตและติดตามกลุ่มเสี่ยง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจึงต้องมีความรู้และเครื่องมือที่เพียงพอจึงจำเป็นต้องมีการฝึกอบรมให้ความรู้และจัดซื้อเครื่องวัดความดันในการดำเนินการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงในหมู่บ้าน ต่อไป อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ตำบลปันแต ได้เล็งเห็นความสำคัญและตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยและเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน หมู่ที่ ๑

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงเบื้องต้น อย่างน้อย ๑ ครั้ง ต่อปี
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงเบื้องต้น อย่างน้อย ๑ ครั้ง ต่อปี
ตัวชี้วัด : 1 ร้อยละ ๙๐ ของประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
0.00 146.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐ ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
0.00 35.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
0.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงเบื้องต้น อย่างน้อย ๑ ครั้ง ต่อปี (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน  (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังความดันโลหิตสูง- เบาหวาน หมู่ที่ 1 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด