กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ


“ โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ”

ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอานนท์ ทองน้อย

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5247-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5247-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหารในเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นปัญหาสำคัญที่ควรให้ความสำคัญและทุกคนจะต้องร่วมมือกันเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจริงจังซึ่งมีเด็กไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุ่งหมอ สาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กวัยเรียน ผอม เตี้ย อ้วน เพราะพฤติกรรมทางโภชนาการและสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ การกินอาหารไม่ครบ 3 มื้อ กินผัก ผลไม้น้อยลง การบริโภคขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลมเพิ่มขึ้น และกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายน้อยลง ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กไทย โดยเฉพาะอาหารที่ไม่เป็นที่โปรดปรานของเด็ก เห็นจะไม่พ้น ผัก และผลไม้ ซึ่งเป็นอาหารที่จะให้สารพวกวิตามินทั้งหลายอันเป็นตัวการสำคัญในกระบวนการเจริญเติบโต และพัฒนาการต่าง ๆ ของเด็กโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็ก แต่ในปัจจุบันมีเด็กก่อนวัยเรียน ไม่ค่อยชอบทานผัก หรือถ้าหากได้ทานผัก ผักส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะซื้อมาจากตลาด ทำให้เด็กอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารผัก ที่ไม่ปลอดภัยไม่ปลอดสารพิษ ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานาน อาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่าง ๆ ได้และแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายที่กระตุ้นให้เด็ก และผู้ปกครอง ได้เห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลสุขภาพที่สามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน การส่งเสริมกิจกรรมทางสุขภาพที่มีความหลากหลายวิธีควบคู่กันไป จะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กไทยได้รับการคุ้มครองอย่างปลอดภัย ในการนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของประโยชน์ของผัก ภาวะโภชนาการและการดูแลสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียนจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพขึ้นใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ เพื่อให้เด็กได้ลงมือปลูกผักด้วยตัวเอง ได้ทานผักที่ปลอดสารพิษ เพื่อจะได้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูลสุขภาพ
  2. ส่งเสริมกิจกรรม
  3. จัดอบรม
  4. ติดตามและพัฒนา
  5. ประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 96
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ มีภาวะทางโภชนาการตามวัย
  2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานผัก
  3. ครู ผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจข้อมูลสุขภาพ

วันที่ 30 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ  โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็กทุกคน พร้อมทั้งแปรผล โดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 2-7 ปี และสรุปผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลจากการเก็บข้อมูล สรุปผล จากเด็ก ทั้งสิ้น 89 คน  ชาย 46 หญิง 43  มีน้ำหนักเป็นไปตามเกณฑ์ 69 คน มากกว่าเกณฑ์ 6 คน และน้อยกว่าเกณฑ์ 3 คน  มีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ  78 คน สูงกว่าเกณฑ์ 1 คน เตี้ย 1 คน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง สมส่วน 66 คน อ้วน 3 คน ผอม 6 คน

 

96 0

2. ส่งเสริมกิจกรรมปลูกผัก

วันที่ 6 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ครูร่วมกันวางแผนงานในการจัดทำกิจกรรม และมอบหมายหน้าที่
2.จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ต่าง ๆ โดยให้เด็ก ๆได้มีส่วนร่วมและลงมือทำ 3.เพาะเห็ดนางฟ้า ให้เด็ก ๆ มีส่วนร่วมในกระบวนการต่าง ๆ ช่น การจัดวางก้อนเห็ด การเฝ้าติดตามผลผลิต และการเก็บเกี่ยวผลผลติ โดยครูจะคอยดูแลและให้คำแนะนำ 4.การปลูกผักต่าง ๆ  ให้เด็ก ได้ลงมือปฏิบัติ ตั้งแต่การเตรียมดิน การเพาะปลูกเมล็ดพันธุ์ การดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยครูคอยดูแลให้คำแนะนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กได้มีส่วนร่วมการการปลูกผักด้วยตัวเอง จึงทำให้เด็ก ๆ เกิดความภาคภูมิใจ จนส่งผลให้เด็กกินผักมากขึ้น

 

96 0

3. อบรมให้ความรู้

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรด้านโภชนาการมาให้ความรู้ แก่ ครู  ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้าที่ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก โดยได้รับเกียรติวิทยากร จาก โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมได้รับทราบ และวิธีการ ที่จะส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์

 

96 0

4. ติดตามและพัฒนา

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการปรับปรุงเมนูอาหารกลางวันให้เด็กได้มีโอกาสรับประทานผักมากขึ้น 2.ส่งเสริมให้เด็กรับประทานผัก โดยผ่านกระบวนการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ  และสอดแทรกในกระบวนการจัดประสบการณ์ 3นำผัก ผลผลิต จากการจัดกิจกรรม มาปรุงเป็นอาหารกลางวันได้เด็ก ได้รับประทาาน.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก ๆได้รับประทานผัก มากขึ้น ทำให้ เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

 

96 0

5. ประเมินผล

วันที่ 30 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง เด็กทั้งหมด 90 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผล จากจำนวนนักเรียน 90 คน ชาย 46  หญิง 44  มีน้ำหนักตามเกณฑ์ 76 คน  เพิ่มขึ้น 7 คน  มีส่วนสูงตามเกณฑ์ 81 คน  เพิ่มขึ้น 3 คน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง สมส่วน 74 คน  เพ่ิมขึ้น 8 คน

 

96 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 96
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลสุขภาพ (2) ส่งเสริมกิจกรรม (3) จัดอบรม (4) ติดตามและพัฒนา (5) ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5247-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอานนท์ ทองน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด