กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู


“ เสริมสร้างสุขภาวะเด็กไทยมุสลิม ยุค 4.0 ”

ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลปากู

ชื่อโครงการ เสริมสร้างสุขภาวะเด็กไทยมุสลิม ยุค 4.0

ที่อยู่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2988-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2561 ถึง 10 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เสริมสร้างสุขภาวะเด็กไทยมุสลิม ยุค 4.0 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เสริมสร้างสุขภาวะเด็กไทยมุสลิม ยุค 4.0



บทคัดย่อ

โครงการ " เสริมสร้างสุขภาวะเด็กไทยมุสลิม ยุค 4.0 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2988-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2561 - 10 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยเรียนและเยาวชน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศ ดังพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชในปีเด็กสากล พุทธศักราช ๒๕๒๒ มีใจความว่า “เด็กเป็นผู้ที่รับช่วงทุกสิ่ง ทุกอย่างจากผู้ใหญ่ รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธำรงรักษา ความสุขสงบของประชากรโลก” การลงทุนกับเด็กจึงคุ้มค่ามากกว่าการลงทุนใดๆทั้งสิ้น เพราะเด็กที่มีคุณภาพจะนำไปสู่การเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ และผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพก็ต้องมาจากวัยเด็กที่ได้รับการพัฒนาอย่างถูกต้อง เหมาะสมด้วยเช่นกัน
ในสังคมสามจังหวัดชายแดนภาคใต้อันประกอบด้วยปัตตานี ยะลา นราธิวาส เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะพิเศษอันเนื่องมาจากบริบทสภาพทางสังคมและวัฒนธรรม ทั้งนี้คนในท้องถิ่นส่วนใหญ่เป็นประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลาม ดังนั้นคนในพื้นที่ดังกล่าวจึงดำรงชีวิตในวัฒนธรรมมลายู สิ่งที่สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ ความเป็นท้องถิ่นของชาวไทยภาคใต้ตอนล่างปรากฏให้เห็นทั้งด้านศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม ตลอดจนการศึกษาของชมชุนซึ่งดำรงอยู่ท่ามกลางบริบทของประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอดีตที่ยาวนานและลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมมลายูท้องถิ่น       แต่ด้วยสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันที่มีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร ทำให้เด็กวัยเรียนและเยาวชนได้รับค่านิยมและวัฒนธรรมตะวันตก เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำรงชีวิตอย่างมากมาย ทั้งด้านชีวิตการเป็นอยู่และด้านการบริโภคอาหาร ซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน เกิดการเลียนแบบนำไปสู่ปัญหาต่างๆ ต่อตัวเด็ก อีกทั้งผู้ปกครองเด็กไม่มีเวลาอบรมสั่งสอนบุตรหลานอย่างใกล้ชิดเหมือนแต่ก่อน เพราะสภาพทางเศรษฐกิจที่บีบรัด ทำให้ส่งผลต่อสุขภาพของเด็ก จากการสำรวจสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียนในปี ๒๕๕๕ โดยศูนย์อนามัยที่ ๑-๑๒ พบว่าเด็กวัยเรียนมีน้ำหนักค่อนข้างมากและมากกว่าเกณฑ์ร้อยละ ๑๘.๔ ท้วม เริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ ๑๗.๗ ผอมและค่อนข้างผอมร้อยละ ๘.๕ เตี้ยและค่อนข้างเตี้ยร้อยละ ๗.๓ นักเรียนประถมศึกษาเป็นเหาร้อยละ ๑๘.๑ นักเรียนมัธยมศึกษาเป็นเหาร้อยละ ๒.๔ นักเรียนประถมศึกษามีฟันแท้ผุร้อยละ ๕๔.๓ ค่าเฉลี่ยฟันแท้ผุถอนอุด ๑.๖๖ ซี่ต่อคน และมีเหงือกปกติร้อยละ ๔๗.๑ โดยนักเรียนประถมศึกษาปีที่ ๖ มีฟันผุร้อยละ ๖๑.๕ ค่าเฉลี่ยฟันแท้ผุอุดถอน ๑.๘๒ ซี่ต่อคน เด็กวัยเรียนกินอาหารเช้า กลางวัน และเย็นทุกวันร้อยละ ๖๒.๐, ๗๗.๔, ๗๕.๔ กินอาหารว่างและก่อนนอนทุกวันร้อยละ ๒๘.๘ และ ๑๓.๓ และในหนึ่งสัปดาห์เด็กวัยเรียนบริโภคอาหาร ๔ วันขึ้นไปมากที่สุดคือ ดื่มเครื่องดื่มรสหวาน น้ำอัดลมร้อยละ ๕๒.๒ กินขนมกรุบกรอบ อาหารผัด ทอด และเนื้อสัตว์ติดมันร้อยละ ๔๗.๖, ๔๑.๒, ๒๘.๕ เติมน้ำตาลในอาหารปรุงสุกทุกวันร้อยละ ๔๓.๗ การแปรงฟันพบเด็กประถมศึกษาแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียนทุกวันและแปรงฟันก่อนนอนทุกวันร้อยละ ๕๑.๗ และ ๕๘.๔ จากข้อมูลดังกล่าวทำให้เห็นว่าการทานอาหารของเด็กในปัจจุบันไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการแต่อย่างใดแต่เป็นการทานอาหารที่แสนจะหาได้สะดวก รวดเร็ว และหาทานได้ง่าย ซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคต่างๆ ตามมา เช่น โรคอ้วน ฟันผุ เป็นต้น
ดังนั้นสภาเด็กและเยาวชนตำบลปากู จึงเล็งเห็นความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาวะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ทั้งทางด้านสุขภาวะทางกาย จิตใจ ปัญญาและสังคม จึงได้จัดโครงการเสริมสร้างสุขภาวะเด็กไทยมุสลิม ยุค 4.0” นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กและเยาวชนในเขตตำบลปากู ตระหนัก และเห็นคุณค่าของการรับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และตามแบบอย่างของท่านนบี ซล. (อาหารที่ฮาลาลัน ต๊อยญีบัน “ حلال طيبا ” ตามบทบัญญัติของอิสลาม
    2. เด็กและเยาวชนในเขตตำบลปากูมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาวะของตนเองแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เสริมสร้างสุขภาวะเด็กไทยมุสลิม ยุค 4.0 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L2988-2-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สภาเด็กและเยาวชนตำบลปากู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด