กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสมีนี เจ๊ะบู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8302-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8302-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ.๒๕๔๖ มาตรา ๖ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขดังนั้นเด็กและเยาวชน เป็นวัยที่สังคมต้องให้ความดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพราะทั้งวัยเด็ก และเยาวชนวันนี้ คือ ผู้นำที่ดีในอนาคตในการบริหารประเทศชาติ ซึ่งในสังคมปัจจุบันมีสิ่งแวดล้อมที่มีสิ่งยั่วยุมากมายทางสื่อต่าง ๆ ที่ส่งผลให้วัยรุ่นนั้นเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีและในทางที่ไม่ดี ยิ่งในบางครอบครัว พ่อแม่ไม่สามารถควบคุม ดูแลเอาใจใส่ลูก ๆ หลาน ๆ ที่อยู่ในวัยนี้ได้ จึงเป็นส่วนหนึ่งที่จะก่อให้เกิดปัญหาในสังคม เป็นภาวะเสี่ยงในปัจจุบันมากมาย ผู้นำด้านต่าง ๆ ในชุมชนจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องร่วมมือกันทุก ๆ ฝ่ายหามาตรการในการสร้างสภาพแวดล้อมในชุมชนให้เป็นสภาพแวดล้อมที่ห่างไกลยาเสพติด หมดสิ้นอบายมุข ฯลฯ ควบคู่กับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตั้งแต่เด็ก เยาวชนสู่สังคมที่น่าอยู่ คนในสังคมที่มีสุขภาพ อนามัยที่ดี และนำหลักศาสนาด้านคุณธรรม จริยธรรมใช้ในการดำเนินชีวิตในสังคมที่มีความสุขที่ยั่งยืน ด้วยเหตุนี้ทางกลุ่มอสม.ชุมชนฮาปา ร่วมมือกับคณะกรรมการชุมชนฮาปาและชมรมเยาวชนฮาปาภายใต้การสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก เล็งเห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้เด็กเยาวชน รวมพลังเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง และเพื่อน ๆ เป็นเด็กและเยาวชนยุคใหม่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับมหันตภัยยาเสพติด ส่งเสริมการกีฬาเพื่อสุขภาพ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด พร้อมจะเรียนรู้เรื่องศาสนาให้มากขึ้นเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจให้มั่นคง เพาะบ่งคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดในจิตใจอยู่ในสังคมที่เพียบพร้อมด้วยการมีสุขภาพที่ดีคู่คุณธรรมจริยธรรมที่ล้ำเลิศก่อให้เกิดโครงการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติดดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ปลอดยาเสพติด สู่สุขภาพทางกาย จิตใจที่ดี พร้อมนำหลักการของศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สู่สังคมสันติสุข....

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่ายสภาเยาวชนฮาปา -กิจกรรมเรียนรู้ตามฐานต่างๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ทำให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ปลอดสารยาเสพติด สู่สุขภาพ ทางกาย จิตใจที่ดี พร้อมนำหลักการของศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สู่สังคมสันติสุข
-ทำให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เข้าใจโทษของยาเสพติด และรู้จักป้องกันตนเอง สามารถแนะนำผู้อื่นไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น
-เพื่อรณรงค์ สร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ร่วมมือกันหันมาเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดให้โทษ สร้างความสมัครสมาน สามัคคี มีความรักความปรองดองระหว่างกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่ายสภาเยาวชนฮาปา -กิจกรรมเรียนรู้ตามฐานต่างๆ

วันที่ 1 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่ายเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนในพื้นที่ มีเวทีในการจัดกิจกรรม  รู้โทษภัยของยาเสพติด

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)
50.00 0.00

 

2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ปลอดยาเสพติด สู่สุขภาพทางกาย จิตใจที่ดี พร้อมนำหลักการของศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สู่สังคมสันติสุข....
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตัวเอง ไม่ยุ่งกับยาเสพติดโดยใช้หลักศาสนามาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ปลอดยาเสพติด สู่สุขภาพทางกาย จิตใจที่ดี พร้อมนำหลักการของศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สู่สังคมสันติสุข....

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่ายสภาเยาวชนฮาปา -กิจกรรมเรียนรู้ตามฐานต่างๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8302-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมีนี เจ๊ะบู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด