กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน ประจำปี งบประมาณ 2561“ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค” ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน ประจำปี งบประมาณ 2561“ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค”

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน ประจำปี งบประมาณ 2561“ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค” จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน ประจำปี งบประมาณ 2561“ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน ประจำปี งบประมาณ 2561“ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,776.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา มีปริมาณขยะเฉลี่ย 2 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชน จึงเป็นภาระขององค์การบริหารส่วนตำบลบาละ ในการบริหารจัดการกำจัดขยะเหล่านั้น ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้างในแต่ละวันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชน ได้แก่ บริเวณหมู่บ้านสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหนะนำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำ แหล่งน้ำเน่าเสีย อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยากทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม ปริมาณขยะที่พบในถังขยะสามารคัดแยกขยะได้จากต้นทางโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ตำบลบาละเพื่อลดประมาณขยะและแหล่งสะสมเชื้อโรคนั้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ จึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริมให้ประชาชน บุคลากรในโรงเรียน บุคลากรในหน่วยงานราชการ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย ช่วยลดปริมาณขยะอินทรีย์ คัดแยกขยะที่ต้นทางโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ดังนั้นการส่งเสริมให้ชุมชนในพื้นที่เป็นต้นแบบในการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมและสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพของประชาชนด้วย
อาศัยอำนาจตามความใน แนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันกันโรค ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ลงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2557 (7.4) เพื่อให้เกิดการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ควบคุมและป้องกันมลพิษในชุมชน เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน รวมถึงการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน ประกอบกับอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 16(7)และ(24) แห่งพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 มีอำนาจและหน้าที่คุ้มครอง ดูแล และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน “ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค”ประจำปีงบประมาณ 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 2.2 เพื่อรณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 2.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ลดแหล่งก่อโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน หมูที่1-11 หน่วยราชการ และศาสนสถานในพื้นที่ตำบลบาละ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 มีการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
8.2 มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 8.3 ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การนำขยะมาใช้ประโยชน์โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 8.4 สภาพแวดล้อมน่าอยู่ ปราศจากขยะ ลดแหล่งก่อโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน หมูที่1-11 หน่วยราชการ และศาสนสถานในพื้นที่ตำบลบาละ

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือนจากต้นทาง การส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะ
2) กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 4 ฐาน ฐานที่ 1 ความรู้พื้นฐานเรื่องขยะมูลฝอย ฐานที่ 2 การจัดการขยะอินทรีย์โดยการส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน
ฐานที่ 3 การคัดแยกขยะตามหลัก 3Rs ฐานที่ 4 นวัตกรรมจากขยะเหลือใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือนจากต้นทาง การส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะ ร้อนละ 80 2) กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรมมและสมัครเป็นตัวแทนอาสาสมัครท้องถิ่นร้อยละ 50 ของครัวเรือน

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.บาละ โทร.0-7320-5645 ที่ ยล. 74705/      วันที่    กรกฎาคม  2561 เรื่อง  ขอรายงานผลการดำเนิน โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน.........................................................................................................................................................................................................

เรียน  นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ
1. เรื่องเดิม ตามที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ขออนุมัติเบิกจ่ายเงินโครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน จากกองทุนหลักประกันสุขภาพ บาละ เป็นเงิน 24,766 บาท นั้น 2. ข้อเท็จจริง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการจัดโครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน “ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค ” ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีการค่าใช้จ่ายจริง 24,766 บาท (ตามเอกสารที่แนบด้วย) 3. ข้อระเบียบ/ข้อกฎหมาย ระเบียบกระทรวงหมาดไทย ว่าด้วยการเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและ การตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547
4. ข้อเสนอแนะ/พิจารณา ในการนี้  ขอรายงานผลการดำเนิน โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชนกองทุน พร้อมกันนี้ได้แนบเอกสารประกอบผลการดำเนิน โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาดำเนินการต่อไป (นางกัญญาภัค  ยอดเมฆ)   ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ความเห็นของรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ..........................................................................................................................................................................

(นางสาวนันทิดา  ไชยลาภ) รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

ความเห็นของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ      ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

                            (นายพล    หนูทอง)                         นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ รายงานผลการดำเนินงาน 1.ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน “ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค ”
ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ณ. ศูนย์เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตทางการเกษตร ม.5 บ้านสี่สิบ ต.บาละ อ.กาบัง 2.ผลการดำเนินงาน 1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือนจากต้นทาง การส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะ
2) กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 4 ฐาน ฐานที่ 1 ความรู้พื้นฐานเรื่องขยะมูลฝอย ฐานที่ 2 การจัดการขยะอินทรีย์โดยการส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน
ฐานที่ 3 การคัดแยกขยะตามหลัก 3Rs ฐานที่ 4 นวัตกรรมจากขยะเหลือใช้ 1. ความคุ้มค่าในการจัดโครงการ/กิจกรรม
ประมาณการค่าใช้จ่าย 24,776 บาท
ลำดับ รายการ จำนวน หน่วยละ เป็นเงิน หมายเหตุ 1.)ค่าใช้จ่ายตามกิจกรรมอบรมให้ความรู้ 1. ค่าป้ายโครงการ 1 ป้าย 776 บาท 776 บาท วันอบรม 2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 150 คน จำนวน 1 วันๆละ 2 มื้อ 300ชุด 25 บาท 7,500 บาท วันอบรม 3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 150 คน จำนวน 1 วัน 150 ชุด 50 บาท 7,500 บาท วันอบรม 4. ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย แบ่งเป็น
- ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท/วัน - ค่าสมนาคุณวิทยากรประจำฐานจำนวน 4 คน จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท/วัน

15 ชั่วโมง

600 บาท

9,000 บาท วันอบรมและเรียนรู้ รวมงบประมาณทั้งสิ้น 24,776 บาท

ความคุ้มค่าในการจัดโครงการ/กิจกรรม (อธิบาย) ประชาชนในตำบลบาละ มีความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะในครัวเรือนจากต้นทาง การส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะ

  1. ผลที่ได้รับจากโครงการ 2.1 มีการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
    .2 มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 2.3 ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การนำขยะมาใช้ประโยชน์โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 2.4 สภาพแวดล้อมน่าอยู่ ปราศจากขยะ ลดแหล่งก่อโรค การประเมินผลสำเร็จของโครงการ  มีการดำเนินงานตามแผน คือ แผน....................................................
     ไม่มีการดำเนินงานตามแผน  เป็นไปตามกำหนดเวลา
     ไม่เป็นไปตามกำหนดเวลา เพราะ เลื่อนจากวันที่..............................เป็นวันที่...........................  ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ  มีการติดตามและประเมินผล
  2. ประเมินผลการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ที่กำหนด (เชิงคุณภาพ, เชิงปริมาณ)  เชิงคุณภาพ คือ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เท่ากับ ....80%..... (ระดับ.....)  บรรลุเป้าหมาย  ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจาก.............................................  เชิงปริมาณ คือ ผู้เข้าร่วมโครงการทุกกิจกรรม จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย (150คน)  บรรลุเป้าหมาย  ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจาก.............................................
  3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข (จากสรุปผลประเมินโครงการ) การดำเนินงานโครงการ ในบางกิจกรรมอาจจะต้องใช้รูปแบบกิจกรรมที่ซ้ำๆ เพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะ และการดูและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
  4. แนวทางในการพัฒนาโครงการในปีต่อไป (หากจะมีการดำเนินโครงการต่อเนื่อง) พัฒนาโครงการ ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การใช้ประโยชน์จากขยะรีไซเคิล การทำน้ำหมักจากขยะอินทรีย์ หรือการจัดทำกิจกรรมทอดผ้าป่าขยะ เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นการเรียนรู้ชุมชน ให้เป็นชุมชนที่เข็มแข็งและการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง





ภาพกิจกรรม โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน “ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค ”
ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ณ. ศูนย์เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตทางการเกษตร ม.5 บ้านสี่สิบ ต.บาละ อ.กาบัง









































                บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.บาละ  โทร.๐-7320-5645 ที่ ยล. 7470๕/    วันที่      ตุลาคม  ๒๕60 เรื่อง  ขอรายงานผลการดำเนิน โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดโรค ปลอดภัย .............................................................................................................................................................................. 1. เรื่องเดิม ตามบันทึกข้อความ กองสาธารณสุขที่ ยล 745705/  ลงวันที่  สิงหาคม  2560 ขออนุมัติดำเนินงาน โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดโรค ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2560 นั้น

  1. ข้อเท็จจริง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ มีความประสงค์จะขอจัดซื้อจัดจ้าง ตามโครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดโรค ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2560 ดังรายการต่อไปนี้ กิจกรรม 1.ประชุมชี้แจง/อบรมให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน, อสม.และผู้เกี่ยวข้อง
      1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม              จำนวน 30 คน   1.2 ค่าอาหารกลางวัน                  จำนวน 30 คน
  2. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย ปลอดโรค
      2.1 ค่าป้ายไวนิลโครงการ   2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม            จำนวน 120 คน   2.3 ค่าอาหารกลางวัน                  จำนวน 120 คน   2.5 ค่าเอกสารในการอบรม              จำนวน 120ชุด 3.กิจกรรมการรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ ที่พักอาศัย   3.1 ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์                จำนวน 11 ผืนๆ   3.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม              จำนวน 120 คน   3.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ 4.ตรวจเยี่ยม/ประเมินผลหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการ
      4.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม              จำนวน 10 คน   4.3 ประกวดหมู่บ้านต้นแบบ   - ป้ายรางวัลพร้อมของที่ระลึก    6ป้าย   -  ของที่ระลึก                    16 ชิ้น

  3. ข้อระเบียบ/กฎหมาย ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 9 พ.ศ. 2553

  4. ข้อเสนอแนะ เพื่อให้การทำงานต่างๆ เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ จึงเห็นควรดำเนินการตามข้อ 2

(นางกัญญาภัค  ยอดเมฆ) ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

-2- 5. ความเห็นของรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

.............................................................................................................................................................................

(นางสาวนันทิดา  ไชยลาภ) รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ


6. ความเห็นของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ         เห็นควรอนุมัติ          เห็นควรไม่อนุมัติ

เพราะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
              (ลงชื่อ)

                      (นายพล  หนูทอง)                       นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 2.2 เพื่อรณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 2.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ลดแหล่งก่อโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม  2.2 เพื่อรณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 2.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ลดแหล่งก่อโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน หมูที่1-11 หน่วยราชการ และศาสนสถานในพื้นที่ตำบลบาละ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน ประจำปี งบประมาณ 2561“ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค” จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด