กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค) ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านฉลุง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค)

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5273-2-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5273-2-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงฤดูฝนของทุกปีจะเป็นฤดูที่มีการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายสูงสุด เนื่องจากฝนที่ตกมาจะทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทำให้จำนวนยุงลายเพิ่มขึ้นมากกว่าช่วงอื่น ๆ ของปี ดังนั้นโรคที่ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษในช่วงนี้ คือ โรคที่มียุงลายเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออกโรคติดเชื้อไวรัสซิกาและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกที่แม้ว่าปัจจุบันในพื้นที่ตำบลฉลุงจะมีแนวโน้มผู้ป่วยลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ปี 2559) แต่ยังคงวางใจไม่ไดต้องดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมโรคอย่างเข้มข้นต่อไป ทั้งนี้โรคที่มียุงลายเป็นพาหะสามารถป้องกันได้โดยทุกภาคส่วนต้องร่วมมือรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขแนะมาตรการ "พิชิตลูกน้ำยุงลาย 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค" ได้แก่ 1.เก็บบ้านให้สะอาด โปร่ง โล่ง ไม่ให้มีมุมอับทึบ เป็นทีา่เกาะพักของยุง2.เก็บขยะเศษภาชนะรอบบ้าน โดยทำต่อเนื่องสัปดาห์ละครั้ง ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 3.เก็บน้ำ สำรวจภาชนะใส่น้ำ ต้องปิดฝาให้มิดชิดป้องกันยุงลายไปวางไข่เพื่อป้องกัน 3 โรค คือ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย รวมทั้งการกำจัดและควบคุมยุงตัวแก่ เช่นการพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย และการป้องกันไม่ให้ยุงลายกัดเช่น ทายากันยุง กำจัดยุงโดยใช้ไม้ช็อตไฟฟ้าจุดสมุนไพรหรือยาจุดไล่ยุง หรือใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็ฯต้น ซึ่งการดำเนินงานที่สำคัญที่สุดในการควบคุมโรคคือ การป้องกันโรคล่วงหน้า โดยการมุ่งเน้นการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค ต้องดำเนินการก่อนโรคเกิด หากเกิดการระบาดแล้วการควบคุมจะทำได้ลำบาก และสูญเสียงบประมาณในการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคเเกิดขึ้นในพื้นที่และให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักในการแก้ไขปัญหาโรคที่เกิดจากยุงลายร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1. เพื่อให้ครู 25 คน และผู้ปกครอง 37 คน นักเรียน 460 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหนะ (3 โรค) ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. ข้อ 2.เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค) ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  3. ข้อ 3.เพือนำวัสดุธรรมชาติมาทำสเปรย์ไล่ยุง และโลชั่นไล่ยุง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมเกี่ยวกับการป้องกัน
  2. จัดทำสเปรย์ไล่ยุงและโลชั่นไล่ยุง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 460
กลุ่มวัยทำงาน 62
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชน บุคลากร นักเรียน ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรค ไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ สามารถลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหนะได้2.เพื่อลดอัตราป่วย ตายด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน โดยการนำวัสดุธรรมชาติป้องกันตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหนะ (3 โรค)

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหนะ (3 โรค) แก่บุคลากรและนักเรียนโรงเรียนบ้านฉลุง 2.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำสเปรย์ไล่ยุงจากพืชสมุนไพรตะไคร้หอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 522 คน ประกอบไปด้วย นักเรียนจำนวน 460 คน ครู จำนวน 25 คน และตัวแทนผู้ปกครอง จำนวน 37

 

522 0

2. จัดทำสเปรย์ไล่ยุงและโลชั่นไล่ยุง

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานวิทยากร 2.จัดหาอุปกรณ์ในการฝึก 3.จัดอบรมสาธิตการทำสเปรย์ไล่ยุงและ โลชั่นไล่ยุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมสาธิตการทำสเปรย์ไล่ยุงและ โลชั่นไล่ยุง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 522 คน ประกอบไปด้วย นักเรียนจำนวน 460 คน ครู จำนวน 25 คน และตัวแทนผู้ปกครอง จำนวน 37

 

522 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1. เพื่อให้ครู 25 คน และผู้ปกครอง 37 คน นักเรียน 460 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหนะ (3 โรค) ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครอง นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้เข้าใจการเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหนะ (3 โรค) ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
0.00

 

2 ข้อ 2.เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค) ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : บุคลากรในโรงเรียน และนักเรียนมีสุขภาพดีร้อยละ 90
0.00

 

3 ข้อ 3.เพือนำวัสดุธรรมชาติมาทำสเปรย์ไล่ยุง และโลชั่นไล่ยุง
ตัวชี้วัด : นำวัสดุธรรมชาติมาทำสเปรย์ และโลชั่นไล่ยุง ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 522
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 460
กลุ่มวัยทำงาน 62
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1. เพื่อให้ครู 25 คน และผู้ปกครอง 37 คน นักเรียน 460 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหนะ (3 โรค) ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (2) ข้อ 2.เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค) ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (3) ข้อ 3.เพือนำวัสดุธรรมชาติมาทำสเปรย์ไล่ยุง และโลชั่นไล่ยุง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเกี่ยวกับการป้องกัน (2) จัดทำสเปรย์ไล่ยุงและโลชั่นไล่ยุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (3 โรค) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5273-2-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด