โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์
หัวหน้าโครงการ
เงินโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า สอ.บ.หยงสตาร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 21 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์ รหัสโครงการ 61-L1480-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ กล่าวคือจะไปทำลายอวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นกับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใดและปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดอันตรายที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆออกมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคระบบสืบพันธุ์โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรม ทำสวนยางพารา สวนปาล์ม มีการปลูกพืชล้มลุกหลายชนิด ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายวงกว้างและยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูง ในปีงบประมาณ 2560 จากการเจาะเลือดเกษตรกร โดย รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ โดยใช้กระดาษ Reactive paper ตรวจคัดกรองจำนวน 86 ราย ผลการตรวจ ปกติ 18 ราย,ปลอดภัย 30 ราย,เสี่ยง 18 ราย,ไม่ปลอดภัย 2 ราย
จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่าเกษตรกรในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ยังคงมีการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชอยู่ในระดับสูงและยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี ดังนั้นทาง รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ร่วมกับกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีเกษตรกรรมขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ว่าอยู่ในระดับใด เพื่อการป้องกัน เฝ้าระวังและรักษาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
- เพื่อให้เกตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและตรวจหาความเข้มข้นเลือด (Hct)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง
- เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและได้รับการดูแลสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้
วันที่ 29 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง สารเคมีตกค้างในร่างกาย 4 หมู่บ้าน จำนวน 199 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง สารเคมีตกค้างในร่างกาย 4 หมู่บ้าน จำนวน 199 คน ได้รับความรู้ วิธีการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
100
0
2. เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและตรวจหาความเข้มข้นเลือด (Hct)
วันที่ 30 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย/เจาะ HCT จำนวน 263 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากสารเคมีตกค้างในร่างกาย ได้รับการจ่ายสมุนไพรรางจืดแก่ผู้มีผลเลือดระดับที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย จำนวน 28 คน และมีการตรวจเลือดซ้ำ ผลปรากฏว่าปกติทุกคน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
ตัวชี้วัด : เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมให้ความรู้อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้เกตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายอย่างน้อยร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร (2) เพื่อให้เกตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและตรวจหาความเข้มข้นเลือด (Hct)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( เงินโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า สอ.บ.หยงสตาร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์
หัวหน้าโครงการ
เงินโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า สอ.บ.หยงสตาร์
กันยายน 2561
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 21 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยงสตาร์ รหัสโครงการ 61-L1480-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ กล่าวคือจะไปทำลายอวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นกับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใดและปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดอันตรายที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆออกมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคระบบสืบพันธุ์โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรม ทำสวนยางพารา สวนปาล์ม มีการปลูกพืชล้มลุกหลายชนิด ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายวงกว้างและยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูง ในปีงบประมาณ 2560 จากการเจาะเลือดเกษตรกร โดย รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ โดยใช้กระดาษ Reactive paper ตรวจคัดกรองจำนวน 86 ราย ผลการตรวจ ปกติ 18 ราย,ปลอดภัย 30 ราย,เสี่ยง 18 ราย,ไม่ปลอดภัย 2 ราย
จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่าเกษตรกรในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ยังคงมีการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชอยู่ในระดับสูงและยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี ดังนั้นทาง รพ.สต.บ้านหยงสตาร์ร่วมกับกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีเกษตรกรรมขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ว่าอยู่ในระดับใด เพื่อการป้องกัน เฝ้าระวังและรักษาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
- เพื่อให้เกตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและตรวจหาความเข้มข้นเลือด (Hct)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง
- เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและได้รับการดูแลสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง สารเคมีตกค้างในร่างกาย 4 หมู่บ้าน จำนวน 199 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง สารเคมีตกค้างในร่างกาย 4 หมู่บ้าน จำนวน 199 คน ได้รับความรู้ วิธีการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
|
100 | 0 |
2. เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและตรวจหาความเข้มข้นเลือด (Hct) |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย/เจาะ HCT จำนวน 263 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากสารเคมีตกค้างในร่างกาย ได้รับการจ่ายสมุนไพรรางจืดแก่ผู้มีผลเลือดระดับที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย จำนวน 28 คน และมีการตรวจเลือดซ้ำ ผลปรากฏว่าปกติทุกคน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร ตัวชี้วัด : เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมให้ความรู้อย่างน้อยร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เกตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายอย่างน้อยร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร (2) เพื่อให้เกตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในร่างกายและตรวจหาความเข้มข้นเลือด (Hct)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสารเคมีจากการประกอบอาชีพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( เงินโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า สอ.บ.หยงสตาร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......