โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 ”
-คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
กรกฎาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561
ที่อยู่ -คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤษภาคม 2561 ถึง 23 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน -คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ -คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤษภาคม 2561 - 23 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาโรคฟันผุเป็นปัญหาที่สำคัญและพบมากในประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 - 3 ปี สาเหตุหลักที่ ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด ไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเด็กได้ จากการลงปฏิบัติงานของศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน ปี ๒๕๕๙ -๒๕๖๐ ในกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนได้สุ่มตรวจเด็ก ๙ เดือน - ๒ ปี ทั้งหมด ๑๐๔ คน พบเด็กฟันผุ จำนวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๘๐ และได้สุ่มตรวจเด็ก 3 ปี ทั้งหมด ๑๓๓ คน ได้ตรวจ จำนวน ๑๒๐ คนพบเด็กฟันผุ จำนวน ๙๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๑๘ จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าสภาวะสุขภาพช่องปากของ เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน อยู่ในระดับที่ต้องได้รับการส่งเสริมดูแล ป้องกัน และรักษาอย่างเร่งด่วนโดยสาเหตุเกิดจากผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดความรู้และขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก การดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก , การให้ทันตสุขศึกษา ,บริการทันตกรรม, การแปรงฟันที่ถูกวิธี , การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล
ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดี โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี ๒๕๖๑ ในกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในเขตพื้นที่ มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก
- เพื่อให้เด็ก 0 - 3 ปีในเขตพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช
- เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็ก 0 - 3 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก
- จัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร
- จัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็กได้ถูกต้อง
- เด็ก 0 - 3 ปีมีฟันน้ำนมผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. รณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก
วันที่ 28 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมรณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ให้ความรู้ จัดบอร์ด ฝึกแปรงฟันผู้ปกครองเด็กเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน
-รณรงค์ผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็กพร้อมกัน
-มอบแปรงสีฟัน/ยาสีฟัน
30
0
2. จัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร
วันที่ 16 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เยี่ยมบ้านครัวเรือนเด็ก 18-36 เดือน โดย นสค.ประจำหมู่บ้าน จำนวน 80 ครัวเรือน
-ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก
-มอบแปรงสีฟันเด็ก
-ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
-เด็กได้รับการทาฟลูออไรซ์
80
0
3. จัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ
วันที่ 22 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดบอร์ดให้ความรู้
ฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้ผู้ปกครอง
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในเขตพื้นที่ มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้ปกครองเด็ก 0 - 3 ปีมีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก
0.00
2
เพื่อให้เด็ก 0 - 3 ปีในเขตพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็ก 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช
0.00
3
เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็ก 0 - 3 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละไม่เกิน 55 (หรือฟันผุจากเดิมลดลงร้อยละ2)ของเด็ก 0 - 3 ปีมีฟันน้ำนมผุ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในเขตพื้นที่ มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก (2) เพื่อให้เด็ก 0 - 3 ปีในเขตพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช (3) เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็ก 0 - 3 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก (2) จัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร (3) จัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 ”
-คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล
กรกฎาคม 2561
ที่อยู่ -คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤษภาคม 2561 ถึง 23 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน -คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ -คลินิก WCC คุณภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน-เด็ก18-36 เดือน พื้นที่หมู่บ้าน ๕ หมู่บ้าน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤษภาคม 2561 - 23 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาโรคฟันผุเป็นปัญหาที่สำคัญและพบมากในประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 - 3 ปี สาเหตุหลักที่ ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด ไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเด็กได้ จากการลงปฏิบัติงานของศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน ปี ๒๕๕๙ -๒๕๖๐ ในกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนได้สุ่มตรวจเด็ก ๙ เดือน - ๒ ปี ทั้งหมด ๑๐๔ คน พบเด็กฟันผุ จำนวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๘๐ และได้สุ่มตรวจเด็ก 3 ปี ทั้งหมด ๑๓๓ คน ได้ตรวจ จำนวน ๑๒๐ คนพบเด็กฟันผุ จำนวน ๙๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๑๘ จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าสภาวะสุขภาพช่องปากของ เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน อยู่ในระดับที่ต้องได้รับการส่งเสริมดูแล ป้องกัน และรักษาอย่างเร่งด่วนโดยสาเหตุเกิดจากผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดความรู้และขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก การดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก , การให้ทันตสุขศึกษา ,บริการทันตกรรม, การแปรงฟันที่ถูกวิธี , การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล
ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดี โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี ๒๕๖๑ ในกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในเขตพื้นที่ มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก
- เพื่อให้เด็ก 0 - 3 ปีในเขตพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช
- เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็ก 0 - 3 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก
- จัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร
- จัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็กได้ถูกต้อง
- เด็ก 0 - 3 ปีมีฟันน้ำนมผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. รณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก |
||
วันที่ 28 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมรณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ให้ความรู้ จัดบอร์ด ฝึกแปรงฟันผู้ปกครองเด็กเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน -รณรงค์ผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็กพร้อมกัน -มอบแปรงสีฟัน/ยาสีฟัน
|
30 | 0 |
2. จัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเยี่ยมบ้านครัวเรือนเด็ก 18-36 เดือน โดย นสค.ประจำหมู่บ้าน จำนวน 80 ครัวเรือน -ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก -มอบแปรงสีฟันเด็ก -ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี -เด็กได้รับการทาฟลูออไรซ์
|
80 | 0 |
3. จัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ |
||
วันที่ 22 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดบอร์ดให้ความรู้ ฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้ผู้ปกครอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในเขตพื้นที่ มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้ปกครองเด็ก 0 - 3 ปีมีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เด็ก 0 - 3 ปีในเขตพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็ก 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็ก 0 - 3 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละไม่เกิน 55 (หรือฟันผุจากเดิมลดลงร้อยละ2)ของเด็ก 0 - 3 ปีมีฟันน้ำนมผุ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในเขตพื้นที่ มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากเด็ก (2) เพื่อให้เด็ก 0 - 3 ปีในเขตพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับการทาฟลูออไรด์วานิช (3) เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็ก 0 - 3 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก (2) จัดกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผุ้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่บุตร (3) จัดกิจกรรมเด็ก 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแม่ลูกผูกพันสานฝันฟันดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......