กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวิจิตราทองเกิด

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5238-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5238-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นโรคเรื้อรัง และเป็นปัญหาใหญ่ด้านสาธารณสุขของโลก และของประเทศไทย กลุ่มโรคเรื้อรังเหล่านี้รวมเรียกว่า MetabolicSyndromeซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตของมนุษย์มากที่สุดในปัจจุบัน โรคเบาหวานนอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดสำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคเบาหวานคือ “ กรรมพันธุ์” และ “สิ่งแวดล้อม” ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้นแม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่ก็สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการออกกำลังกายเป็นประจำ ส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวาน โดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์อีกทั้งยังพบว่า อายุเฉลี่ยของการเริ่มต้นป่วยเป็นโรคเบาหวานนั้นน้อยลงเรื่อยๆ และมีแนวโน้มจะลุกลามไปถึงเด็กในอนาคตอันใกล้ด้วยวิถีการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนไป จากผลการคัดกรองโรความดันและเบาหวาน พบกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้นทุกปี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคดังกล่าว ทั้งในรูปแบบการอบรมเป็นรายกลุ่ม และรายบุคล โดยเฉพาะ ความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่ายเบาหวานหรือกิจกรรมชมรมอย่างสม่ำเสมอซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเช่นคนปกติ ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จึงมีความสำคัญมากในการที่จะลดการเกิดโรคในกลุ่ม MetabolicSyndrome โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพลได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงจากโรคความดันโลหิต และ เบาหวาน ไม่ให้เกิดโรคดังกล่าวในกลุ่มเสี่ยงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ชื่อ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 256๑ ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต : ๑.ตรวจพบกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรอง - กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน ๑๒๕ คน     - กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน จำนวน ๓๖ คน   - กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ๑๕๑ คน
    - กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูงจำนวน ๗๙ คน
                ๒.กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  จำนวน  ๖๐ คน               (เป้ากลุ่มเสี่ยง ๓๙๑ คน)                   -พบผู้ป่วย เบาหวาน รายใหม่ จำนวน  ๑๑ ราย
                      -พบผู้ป่วยความดัน รายใหม่  จำนวน  ๒๐ ราย

    ผลตัวชี้วัด :   ๑.พบกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรอง - กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน ๑๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๖๓ (คัดกรอง ๑,๐๗๕ คน)     - กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน จำนวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๕   - กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ๑๕๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๖๘ (คัดกรอง ๘๗๔ คน) - กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูงจำนวน ๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๐๔             ๒.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  จำนวน  ๖๐  คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๓๕
                        -พบผู้ป่วย เบาหวาน ๑๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๓                     -พบผู้ป่วยความดัน ๒๐ ราย  คิดเป็นร้อยละ ๘.๖๙
        ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
          ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - อสม/เครือข่ายสุขภาพ. - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต  (เครื่องวัดความดัน เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด เข็มเจาะน้ำตาลในเลือด สำลี แอลกอฮอล์
    - บุคลากร/วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล)

       





    กระบวนการ

    กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - ประชาสัมพันธ์โครงการประสานงานวิทยากรในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย

    • ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต / ให้ความรู้เกี่ยวกับการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ





    • จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยง


    • ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
      • จัดเวทีประชาคมสุขภาพเพื่อชี้แจงสภาพปัญหา ร่วมแสดงความคิดเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
    • ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายจาก HCIS/อสม.สำรวจเพิ่ม
    • ชี้แจงในเวทีประชาคมสุขภาพ
    • การประชุมประจำเดือนของอสม.
    • การประชุม NCD. Meeting.

    -รณรงค์ตรวจหาน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตโดยจนท./อสม. -ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆเช่น คำแนะนำ/ปรึกษา แจกเอกสาร/แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว - คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงที่ได้จากการตรวจคัดกรอง ตามเกณฑ์ - จัดอบรม ๑ วัน - ติดตามพฤติกรรมสุขภาพ ในเรื่อง 3 อ.ใน ในกลุ่มเสี่ยงหลังอบรมให้ความรู้ 3 เดือน และ 6 เดือน
    - ตรวจความดันโลหิต/ น้ำตาลในเลือด/รอบเอว การจัดเวทีประชาคม


    การประชุม ร่วมแสดงความคิดเห็น ความจำเป็นของปัญหา/ การสนับสนุนงบประมาณ

    • HCIS
    • อสม.
    • ผู้รับผิดชอบงาน
    • แจกเอกสารแผ่นพับ
    • หอกระจายข่าว
    • จนท.รพ.สต./อสม.
    • ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต สายวัด





    -วิทยากรจากภายในโซน - วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล) - จนท.รพ.สต./อสม. - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต สายวัด - โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารณสุขมีความสำคัญ เป็นลำดับ ๑

    • โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการ


      ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคHT/DM จำนวน ๑,๐๗๕ คน ผู้เกี่ยวข้องรับทราบโครงการ
    • มีวิทยากรในการอบรมตามโซน -กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรม/ติดตามให้ความรู้ จำนวน ๖๐ คน
    1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๖๐ คน
    2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..... ๖,๐๐๐.. บาท (หกพันบาทถ้วน)
            งบประมาณเบิกจ่ายจริง ..... ๖,๐๐๐.. บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100......
      งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0...............บาท  คิดเป็นร้อยละ .....0.......

    3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี

      • กลุ่มเสี่ยงไม่เห็นความสำคัญของการให้คำแนะนำเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
      • ระยะเวลาในการอบรมสั้นเกินไปไม่เหมาะสมกับเนื้อหา (กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีอายุมาก)
      • การติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพขาดความต่อเนื่อง ๕. ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง
      • การให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ อสม.และเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและควรให้ อสม.เป็นบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
      • ควรมีมาตรการทางสังคมช่วยในการดำเนินกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นในเชิงบวกหรือเชิงลบ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอด
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5 3. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5 4. กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังเข้าร่วมโครงการ 6 เดือน มากกว่า ร้อยละ 25
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน    ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5238-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิจิตราทองเกิด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด