โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 ”
ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางเจียมจิตต์ณะกะมุสิก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L238-01-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L238-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรม และการมีพฤติกรรมสุขภาพเสี่ยงโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่นการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ความเครียดการดื่มสุรา สูบบุหรี่และหากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาอย่างจริงจังเหมาะสมแล้ว อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญทางตา ไต เท้า โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ซึ่งปัจจุบันเป็นปัญหาที่สำคัญด้านสาธารณสุขของโลก และของประเทศไทย
จากข้อมูลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ปี 2558 – 2560 พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานจำนวน 227 ราย,204 และ159 ราย คิดเป็นร้อยละ 27.28,24.52 .และ 19.11 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 233,254 และ 103 ราย ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 28.01,30.51และ12.38 ตามลำดับ และในปี 2559 – 2560 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน8, 10 และ 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.43,3.94 และ 5.83ตามลำดับ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จำนวน 3, 5 , และ 4 ราย ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 1.32, 2.45 และ2.51 ตามลำดับซึ่งจากผลการคัดกรองพบว่ากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูง มีแนวโน้มลดลง แต่ยังพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ทุกปี ดังนั้นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงจากการตรวจคัดกรองจำเป็นต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคดังกล่าว ทั้งในรูปแบบการติดตามให้ความรู้รายบุคคล การอบรมเป็นรายกลุ่ม รวมทั้งการพัฒนาหมู่บ้านให้เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคฯ โดยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย จึงมีความสำคัญมากในการที่จะลดการเกิดโรคในกลุ่ม MetabolicSyndrome
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้าจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระจังหวัดสงขลา ปี 2561 ขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด อย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ปีงบประมาณ 2561 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลชุมพล
1. ผลการดำเนินงาน
1.1 ผลผลิต :
-จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงDM/HT
- กลุ่มเสี่ยงโรคHTได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 130 คน
- กลุ่มเสี่ยงโรค DMได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 146 คน
- กลุ่มเสียงได้รับการรอบรม ความรู้ตามหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤตกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส จำนวน 60 คน
- หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ จำนวน 1 หมู่บ้าน
1.2 ผลตัวชี้วัด
- กลุ่มเสี่ยงโรค DM/HTได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 130/146 คน ร้อยละ
94.89/94.52
- กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตลดลงอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6 เดือน
จำนวน 104 คน ร้อยละ 75.91
- กลุ่มเสี่ยงมีน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6 เดือน จำนวน
117 คน ร้อยละ 80.14
- กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่จำนวน 3 ราย ร้อยละ 2.31 โรคความดันโลหิตสูงราย
ใหม่ จำนวน 5 คน ร้อยละ 3.62
- หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ผ่านเกณฑ์ระดับดี
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
•บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ จำนวน 6,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง จำนวน 6,000 บาท คิดเป็นร้อยละ ....100....................
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0................................. บาท คิดเป็นร้อยละ .....0...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
•ไม่มี
• มี
ปัญหา
- อสม.บางคนขาดความมั่นใจในการให้คำแนะนำ ตามหลัก 3อ.2ส
เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีอายุมาก ไม่สามารถเข้ารับการอบรมได้ทั้งวัน มีความสนใจในเนื้อหาการอบรมน้อย
- การร่วมกิจกรรมของกลุ่มเสี่ยงและการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ให้บริการขาด
ความต่อเนื่องจากภาระงาน และไม่สามารถตรวจติดตามค่าน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้ทุกครั้ง (1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน)
- การดำเนินงานในหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคประชาชนไม่ค่อยให้ความสำคัญมาตรการ
ทางสังคม ซึ่งไม่ได้เกิดจากความต้องการของคนส่วนใหญ่ จึงไม่ได้มีการปฎิบัติตาม
แนวทางแก้ไข
- การให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ อสม.และเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและควรให้อสม.เป็นบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- มีมาตรการทางสังคมที่เกิดจากความต้องการของคนส่วนมาก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
2. กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพครบ6 เดือน มากกว่าร้อยละ 30
1. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.40 /โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2..40
2.หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ระดับดี
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L238-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเจียมจิตต์ณะกะมุสิก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 ”
ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางเจียมจิตต์ณะกะมุสิก
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L238-01-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L238-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรม และการมีพฤติกรรมสุขภาพเสี่ยงโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่นการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ความเครียดการดื่มสุรา สูบบุหรี่และหากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาอย่างจริงจังเหมาะสมแล้ว อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญทางตา ไต เท้า โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ซึ่งปัจจุบันเป็นปัญหาที่สำคัญด้านสาธารณสุขของโลก และของประเทศไทย
จากข้อมูลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ปี 2558 – 2560 พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานจำนวน 227 ราย,204 และ159 ราย คิดเป็นร้อยละ 27.28,24.52 .และ 19.11 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 233,254 และ 103 ราย ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 28.01,30.51และ12.38 ตามลำดับ และในปี 2559 – 2560 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน8, 10 และ 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.43,3.94 และ 5.83ตามลำดับ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จำนวน 3, 5 , และ 4 ราย ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 1.32, 2.45 และ2.51 ตามลำดับซึ่งจากผลการคัดกรองพบว่ากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูง มีแนวโน้มลดลง แต่ยังพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ทุกปี ดังนั้นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงจากการตรวจคัดกรองจำเป็นต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคดังกล่าว ทั้งในรูปแบบการติดตามให้ความรู้รายบุคคล การอบรมเป็นรายกลุ่ม รวมทั้งการพัฒนาหมู่บ้านให้เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคฯ โดยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย จึงมีความสำคัญมากในการที่จะลดการเกิดโรคในกลุ่ม MetabolicSyndrome
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้าจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระจังหวัดสงขลา ปี 2561 ขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด อย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ปีงบประมาณ 2561 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลชุมพล
1. ผลการดำเนินงาน
1.1 ผลผลิต :
-จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงDM/HT
- กลุ่มเสี่ยงโรคHTได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 130 คน
- กลุ่มเสี่ยงโรค DMได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 146 คน
- กลุ่มเสียงได้รับการรอบรม ความรู้ตามหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤตกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส จำนวน 60 คน
- หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ จำนวน 1 หมู่บ้าน
1.2 ผลตัวชี้วัด
- กลุ่มเสี่ยงโรค DM/HTได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 130/146 คน ร้อยละ
94.89/94.52
- กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตลดลงอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6 เดือน
จำนวน 104 คน ร้อยละ 75.91
- กลุ่มเสี่ยงมีน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6 เดือน จำนวน
117 คน ร้อยละ 80.14
- กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่จำนวน 3 ราย ร้อยละ 2.31 โรคความดันโลหิตสูงราย
ใหม่ จำนวน 5 คน ร้อยละ 3.62
- หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ผ่านเกณฑ์ระดับดี
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
•บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ จำนวน 6,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง จำนวน 6,000 บาท คิดเป็นร้อยละ ....100....................
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0................................. บาท คิดเป็นร้อยละ .....0...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
•ไม่มี
• มี
ปัญหา
- อสม.บางคนขาดความมั่นใจในการให้คำแนะนำ ตามหลัก 3อ.2ส
เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีอายุมาก ไม่สามารถเข้ารับการอบรมได้ทั้งวัน มีความสนใจในเนื้อหาการอบรมน้อย
- การร่วมกิจกรรมของกลุ่มเสี่ยงและการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ให้บริการขาด
ความต่อเนื่องจากภาระงาน และไม่สามารถตรวจติดตามค่าน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้ทุกครั้ง (1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน)
- การดำเนินงานในหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคประชาชนไม่ค่อยให้ความสำคัญมาตรการ
ทางสังคม ซึ่งไม่ได้เกิดจากความต้องการของคนส่วนใหญ่ จึงไม่ได้มีการปฎิบัติตาม
แนวทางแก้ไข
- การให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ อสม.และเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและควรให้อสม.เป็นบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- มีมาตรการทางสังคมที่เกิดจากความต้องการของคนส่วนมาก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพครบ6 เดือน มากกว่าร้อยละ 30 1. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.40 /โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2..40 2.หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ระดับดี |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L238-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเจียมจิตต์ณะกะมุสิก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......