กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ชมรม อสม.รพ.สต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมถวิลกาญจนเพ็ญ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ชมรม อสม.รพ.สต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5238-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ชมรม อสม.รพ.สต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ชมรม อสม.รพ.สต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561



บทคัดย่อ

ชื่อ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ประจำปี 256๑ ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต :
      -รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชนและสถานที่สาธารณะโดยเครือข่าย อสม.และ จนท.รพ.สต. จำนวน ๔ ครั้ง (ธค.๖๐/มีค.๖๑/มิย.๖๑/กย.๖๑) โดยวิธี ทางกายภาพ (คว่ำ เผา ฝัง ภาชนะ) ชีวภาพ (ใส่ปลากินลูกน้ำ) สารเคมี (ใส่ทรายทีมีฟอสกำจัดลูกน้ำ) - สำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพ กายภาพ และวิธีทางเคมี โดยเครือข่าย อสม.และ เจ้าของบ้าน เดือนละ ๑ ครั้ง รวม ๑๒ ครั้ง
- ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบต่างๆ       * จัดกิจกรรมรณรงค์/ให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม  โป๊สเตอร์ แผ่นพับ
      * หอกระจายข่าว เสียงตามสาย รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน ๒ ครั้ง ห่างกัน ๑ สัปดาห์ รวม ๖ ครั้ง - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในจากการที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน ๑ ราย ๆละ ๒ ครั้ง ห่างกัน ๑ สัปดาห์ - เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่ พร้อมวิเคราะห์สถานการณ์โรคไข้เลือดออกเดือนละ ๑ ครั้งและแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จำนวน ๑๒ ครั้ง ผลตัวชี้วัด : - ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญซึ่งมีการแพร่ระบาดของโรคในทุกภาคของประเทศมีแนวโน้มช่วงระยะเวลา ในการระบาดถี่ขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้น จากการระบาดของโรคปีเว้นสองปีปีเว้นปี ปัจจุบันมีการระบาดของโรคเป็นประจำทุกปี โดยพบผู้ป่วยได้ในทุกฤดูกาลโรคไข้เลือดออกจึงเป็นปัญหาระดับประเทศ ในแต่ละปีมีผู้ป่วยและตายเป็นจำนวนมากส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน โดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งจะต้องร่วมมือกับองค์กรชุมชนต่างๆดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง การป้องกันโรคไข้เลือดออกนั้น จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็น อสม. อปท. ผู้นำชุมชน ครูและนักเรียน รวมทั้งประชาชนในพื้นที่ในการกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค โดยได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยเน้นให้ อสม. ร่วมกับผู้นำชุมชนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพลได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืนโดยร่วมกับ ชุมชน ในการสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนรู้จักการป้องกันและควบคุมลูกน้ำยุงลาย ในบ้านของตนอย่างจริงจัง ทำให้ตำบลชุมพลปลอดไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลด ความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 68
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลด ความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ของ ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (2556-2560) 2. ร้อยละ 80 ของ รพ.สต./โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/วัด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 68
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 68
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    ชื่อ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ประจำปี 256๑ ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต :
          -รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชนและสถานที่สาธารณะโดยเครือข่าย อสม.และ จนท.รพ.สต. จำนวน ๔ ครั้ง (ธค.๖๐/มีค.๖๑/มิย.๖๑/กย.๖๑) โดยวิธี ทางกายภาพ (คว่ำ เผา ฝัง ภาชนะ) ชีวภาพ (ใส่ปลากินลูกน้ำ) สารเคมี (ใส่ทรายทีมีฟอสกำจัดลูกน้ำ) - สำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพ กายภาพ และวิธีทางเคมี โดยเครือข่าย อสม.และ เจ้าของบ้าน เดือนละ ๑ ครั้ง รวม ๑๒ ครั้ง
    - ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบต่างๆ       * จัดกิจกรรมรณรงค์/ให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม  โป๊สเตอร์ แผ่นพับ
          * หอกระจายข่าว เสียงตามสาย รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน ๒ ครั้ง ห่างกัน ๑ สัปดาห์ รวม ๖ ครั้ง - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในจากการที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน ๑ ราย ๆละ ๒ ครั้ง ห่างกัน ๑ สัปดาห์ - เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่ พร้อมวิเคราะห์สถานการณ์โรคไข้เลือดออกเดือนละ ๑ ครั้งและแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จำนวน ๑๒ ครั้ง ผลตัวชี้วัด : - ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ชมรม อสม.รพ.สต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5238-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมถวิลกาญจนเพ็ญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด