กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการภาคีเครือข่ายวังประจันร่วมใจ ต้านภัยโรคเรื้อรัง ”
ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางวนิดาศรีริภาพ




ชื่อโครงการ โครงการภาคีเครือข่ายวังประจันร่วมใจ ต้านภัยโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการภาคีเครือข่ายวังประจันร่วมใจ ต้านภัยโรคเรื้อรัง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการภาคีเครือข่ายวังประจันร่วมใจ ต้านภัยโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการภาคีเครือข่ายวังประจันร่วมใจ ต้านภัยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคเรื้อรังซึ่งเกิดจากพันธุกรรมและพฤติกรรมสุขภาพที่มีความเสี่ยงจากการบริโภคอาหารการสูบบุหรี่การดื่มสุรา การไม่ออกกำลังกายความเครียด โรคอ้วนโรคเรื้อรังดังกล่าวเป็นโรคที่ต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร
จากการดำเนินงานในคลินิกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจันประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พบว่า มีกลุ่มป่วยรายใหม่ทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน ๒๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๕.๗๑ มีกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายเก่าจำนวน ๒๘๐ คนคิดเป็นร้อยละ๒๙.๑๗(ข้อมูลจากโปรแกรม HDC) ทั้งยังพบว่าผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่ ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้โดยผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ ๔.๘๔ หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคเรื้อรังซึ่งเกิดจากพันธุกรรมและพฤติกรรมสุขภาพที่มีความเสี่ยงจากการบริโภคอาหารการสูบบุหรี่การดื่มสุรา การไม่ออกกำลังกายความเครียด โรคอ้วนโรคเรื้อรังดังกล่าวเป็นโรคที่ต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร
จากการดำเนินงานในคลินิกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจันประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พบว่า มีกลุ่มป่วยรายใหม่ทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน ๒๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๕.๗๑ มีกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายเก่าจำนวน ๒๘๐ คนคิดเป็นร้อยละ๒๙.๑๗(ข้อมูลจากโปรแกรม HDC) ทั้งยังพบว่าผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่ ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้โดยผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ ๔.๘๔ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ร้อยละ ๔๕.๖๖(ข้อมูลจากโปรแกรม HDC) จากผลการดำเนินงานดังกล่าวจะเห็นได้ว่าผู้ป่วยเรื้อรังไม่สามารถควบคุมอาการและความรุนแรงของโรคได้ และมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่จะต้องเร่งรัดการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะในพื้นที่เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อม ส่งผลต่อวิถีชีวิตและก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล(รับประทานหวาน มันเค็มมากเกินไปและรับประทานผัก ผลไม้น้อยเกินไป) การเคลื่อนไหวทางกายน้อยการบริโภคยาสูบรวมถึงภาวะเครียดซึ่งหากไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดังกล่าวจะส่งผลให้โรคเรื้อรังที่เป็นอยู่มีความรุนแรงและมีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตตามมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขและผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอย่างยั่งยืน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ชุมชนมีการสร้างสุขภาพและร่วมดูแลซึ่งกันและกันโดยผ่านทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถควบคุมความรุนแรงของโรค และป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 กิจกรรมประชุมคณะทำงาน ทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง เพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน
  2. ๒.กิจกรรมจัดทำค่ายผู้ป่วยเรื้อรัง / ผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง
  3. ๓. กิจกรรมติดตามเยี่ยมกลุ่มป่วยในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่ตำบลวังประจัน เกิดการตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เข้มข้นสามารถควบคุมความรุนแรงของโรคและความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในรูปแบบต่างๆ อย่างยั่งยืน เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างสุขภาพให้มีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี และการขยายผลการเกิดนวัตกรรมสุขภาพชุมชนสร้างความเข็มแข็งและการพึ่งตนเองทางสุขภาพอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1 กิจกรรมประชุมคณะทำงาน ทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง เพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 17 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1 กิจกรรมประชุมคณะทำงาน ทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง เพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ครั้ง วันที่ 17 กรกฎาคม 2561 และ 26 กันยายน 2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 กิจกรรมประชุมคณะทำงาน ทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง วางแผนก่อนการดำเนินโครงการเพื่อให้ทีมสุขภาพเรื้อรัง ภาคีเครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกรวางแผนการดำเนินงาน และประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนิน  อภิปรายปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ  เมื่อดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้น  เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป 

 

20 0

2. ๒.กิจกรรมจัดทำค่ายผู้ป่วยเรื้อรัง / ผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

วันที่ 23 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๒.กิจกรรมจัดทำค่ายผู้ป่วยเรื้อรัง / ผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดทำค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง  แบบไม่พักค้างแรมโดยทีมสหวิชาชีพ  จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้  ประกอบด้วย

- ฐานให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง - ฐานความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา - ฐานโภชนาการให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารในท้องถิ่นที่เหมาะสมกับโรค - ฐานเรียนรู้การออกกำลังกาย  แนะนำและสาธิตฝึกการออกกำลังกายที่สอดคล้องกับสภาพร่างกาย  และการคลายเครียด
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือ  สามารถสาธิตกลับการออกกำลังกายได้

 

80 0

3. ๓. กิจกรรมติดตามเยี่ยมกลุ่มป่วยในชุมชน

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๓. กิจกรรมติดตามเยี่ยมกลุ่มป่วยในชุมชน 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมทีมสุขภาพโรคเรื้อรังติดตามเยี่ยมผู้ป่วยในชุมชน  เพื่อให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและญาติในการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ  การรับประทานอาหารที่เหมาะสม  การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง  เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย  ตลอกจนให้ความรู้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1 กิจกรรมประชุมคณะทำงาน ทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง วางแผนก่อนการดำเนินโครงการเพื่อให้ทีมสุขภาพเรื้อรัง ภาคีเครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกรวางแผนการดำเนินงาน และประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนิน อภิปรายปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ เมื่อดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้น เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป
2. จัดทำค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง แบบไม่พักค้างแรมโดยทีมสหวิชาชีพ จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ประกอบด้วย - ฐานให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง - ฐานความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา - ฐานโภชนาการให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารในท้องถิ่นที่เหมาะสมกับโรค - ฐานเรียนรู้การออกกำลังกาย แนะนำและสาธิตฝึกการออกกำลังกายที่สอดคล้องกับสภาพร่างกาย และการคลายเครียด
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือ สามารถสาธิตกลับการออกกำลังกายได้

  1. กิจกรรมทีมสุขภาพโรคเรื้อรังติดตามเยี่ยมผู้ป่วยในชุมชน เพื่อให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและญาติในการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ การรับประทานอาหารที่เหมาะสม การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ตลอกจนให้ความรู้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขและผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถเข้าถึงบริการร้อยละ ๙๐
90.00 90.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ชุมชนมีการสร้างสุขภาพและร่วมดูแลซึ่งกันและกันโดยผ่านทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยได้รับติดตามอาการโดยทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง
100.00 100.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถควบคุมความรุนแรงของโรค และป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ ๔๐ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ ร้อยละ ๕๐ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูง  ให้ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขและผู้รับบริการ    ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอย่างยั่งยืน  (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ชุมชนมีการสร้างสุขภาพและร่วมดูแลซึ่งกันและกันโดยผ่านทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถควบคุมความรุนแรงของโรค และป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมประชุมคณะทำงาน  ทีมสุขภาพโรคเรื้อรัง เพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน    (2) ๒.กิจกรรมจัดทำค่ายผู้ป่วยเรื้อรัง / ผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง (3) ๓. กิจกรรมติดตามเยี่ยมกลุ่มป่วยในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการภาคีเครือข่ายวังประจันร่วมใจ ต้านภัยโรคเรื้อรัง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดาศรีริภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด