โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาแว แวดอเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-31 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-1-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจาง ยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลในร่างกาย หญิงมีครรภ์ถ้าขาดธาตุเหล็กทำให้กำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ หญิงตั้งครรภ์ หากเกิดภาวะโลหิตจางจะส่งผลให้เกิดอันตรายต่อทั้งคุณแม่และทารกในครรภ์ คือ หญิงตั้งครรภ์จะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ต้องมีการทำงานของหัวใจที่เพิ่มขึ้นกว่าปกติเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลว และในระยะคลอดเมื่อมีการเสียเลือดจากการคลอดก็จะเสี่ยงต่อการช็อกหรือไตล้มเหลวได้ และมีการติดเชื้อได้ง่ายกว่าปกติ ส่วนทารกในครรภ์ อาจส่งผลให้เกิดการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด ทารกโตช้าในครรภ์ มีปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำ เสียชีวิตในครรภ์ หรือเป็นโรคโลหิตจางได้
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ซึ่งได้ระบุไว้ในแผนงานอาหารและโภชนาการแห่งชาติมาตั้งแต่ฉบับแรก กระทรวงสาธารณสุข มีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุมป้องกันมาตลอดโดยจัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียนซึ่งจากการสำรวจสถานการณ์ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต บ้านกม.26ใน ในปีงบประมาณ 256๑ พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก จากการเจาะเลือดครั้งที่ที่ 1 เจาะเมือฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมืออายุครรภ์ 30 สัปดาห์ สูงถึงร้อยละ 13.09 ซึ่งเป้าหมายกรมอนามัยกำหนดให้ไม่เกิน ร้อยละ 10
จากปัญหาดังกล่าว รพ.สต บ้านกม.26 ใน จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี61 เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์เป็นกลุ่มวัยที่มีความสำคัญ และส่งผลต่อทารกและเด็กซึ่งเป็นเยาวชนของชาติ โดยส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ มุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วยตนเอง อันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ลดปัญหาภาวะซีด จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
- 2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
45
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง
- มีสื่อแหล่งข้อมูลความรู้ ในการแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
๓. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และสามารถบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
วันที่ 12 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุมชี้แจงคณะกรรมการ เพื่อพัฒนาศักยภาพและบทบาทหน้าที่การดำเนินงาน
- วิเคราะห์ปัญหาจัดทำโครงการเพื่อเสนองบประมาณและขออนุมัติโครงการ
- จัดทำป้ายไวนิวประชาสัมพันธ์ แก้ปัญหาภาวะซีด
- จัดอบรมให้ความรู้แก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อพัฒนาศักยภาพแก่หญิงตั้งครรภ์
- ติดตามหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะซีด
- ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง
- มีสื่อแหล่งข้อมูลความรู้ ในการแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
๓. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และสามารถบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กอย่างถูกต้อง
45
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. ลดปัญหาภาวะซีด จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
45
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
45
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ลดปัญหาภาวะซีด จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ (2) 2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-31
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอาแว แวดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาแว แวดอเลาะ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-31 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-1-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจาง ยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลในร่างกาย หญิงมีครรภ์ถ้าขาดธาตุเหล็กทำให้กำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ หญิงตั้งครรภ์ หากเกิดภาวะโลหิตจางจะส่งผลให้เกิดอันตรายต่อทั้งคุณแม่และทารกในครรภ์ คือ หญิงตั้งครรภ์จะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ต้องมีการทำงานของหัวใจที่เพิ่มขึ้นกว่าปกติเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลว และในระยะคลอดเมื่อมีการเสียเลือดจากการคลอดก็จะเสี่ยงต่อการช็อกหรือไตล้มเหลวได้ และมีการติดเชื้อได้ง่ายกว่าปกติ ส่วนทารกในครรภ์ อาจส่งผลให้เกิดการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด ทารกโตช้าในครรภ์ มีปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำ เสียชีวิตในครรภ์ หรือเป็นโรคโลหิตจางได้
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ซึ่งได้ระบุไว้ในแผนงานอาหารและโภชนาการแห่งชาติมาตั้งแต่ฉบับแรก กระทรวงสาธารณสุข มีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุมป้องกันมาตลอดโดยจัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียนซึ่งจากการสำรวจสถานการณ์ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต บ้านกม.26ใน ในปีงบประมาณ 256๑ พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก จากการเจาะเลือดครั้งที่ที่ 1 เจาะเมือฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมืออายุครรภ์ 30 สัปดาห์ สูงถึงร้อยละ 13.09 ซึ่งเป้าหมายกรมอนามัยกำหนดให้ไม่เกิน ร้อยละ 10
จากปัญหาดังกล่าว รพ.สต บ้านกม.26 ใน จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี61 เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์เป็นกลุ่มวัยที่มีความสำคัญ และส่งผลต่อทารกและเด็กซึ่งเป็นเยาวชนของชาติ โดยส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ มุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วยตนเอง อันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ลดปัญหาภาวะซีด จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
- 2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 45 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง
- มีสื่อแหล่งข้อมูลความรู้ ในการแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ ๓. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และสามารถบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ |
||
วันที่ 12 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
45 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. ลดปัญหาภาวะซีด จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 45 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 45 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ลดปัญหาภาวะซีด จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ (2) 2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-31
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอาแว แวดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......