โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียะ สาเมาะแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-2-30 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-2-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคท้องร่วง/ท้องเสีย/ท้องเดิน เป็นสาเหตุสำคัญของความเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของเด็กทั่วโลก ในประเทศกำลังพัฒนาประมาณว่าโรคท้องร่วงเป็นสาเหตุการตาย 17.5 - 21%ของเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี (ประมาณ 1.5 ล้านคนต่อปี) ในปี พ.ศ. 2551 มีรายงานเด็กไทยเสียชีวิตจากโรคท้องร่วง 266 คน องค์การอนามัยโลก และหน่วยงานขององค์การสหประชาชาติตั้งเป้าให้ลดอัตราตายจากโรคท้องร่วงในเด็กลง 2 ใน 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2533 ถึง 2558อย่างไรก็ตาม ในระยะหลังนี้พบว่า การเจ็บป่วยจากโรคท้องร่วงและการเสียชีวิตจาก โรคนี้น้อยลง เนื่องจากสภาวะสุขภาพ และเศรษฐกิจสังคมดีขึ้น แต่โรคท้องร่วงจากเชื้อไวรัสโรตา (Rotavirus) ยังเป็นปัญหาสำคัญอยู่
ข้อมูลที่มีในประเทศไทยของกระทรวงสาธารณสุขในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 พบอุบัติการณ์ของโรคท้องร่วงในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี เพิ่มขึ้นจาก 7,140.9 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปีพ.ศ. 2543เป็น 10,000 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปี พ.ศ. 2553 แต่อัตราตายลดลงจาก 0.35 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปี พ.ศ. 2544 เป็น 0.10 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปีพ.ศ. 2555
จากข้อมูลของประเทศไทย พ.ศ. 2553 โรคท้องร่วงในเด็กพบได้ตลอดทั้งปี แต่จะพบมากใน ช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ และในช่วงฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม โรคท้องร่วงที่พบบ่อยในช่วงฤดูหนาว ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยเฉพาะไวรัสโรตา
จากรายงานกระทรวงสาธารณสุขพบว่า จากการเฝ้าระวังโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันตั้งแต่วันที่๑มกราคม – ๓๑ ธันวาคม๒๕๖0มีรายงานว่าพบผู้ป่วย๑,00๗,๔๑๕รายจากทั่วประเทศเสียชีวิต ๔ ราย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ มากกว่า ๖๕ ปี, ๑๕ – ๒๔ปีและ๒๕ – ๓๔ปีจังหวัดที่มีอัตราป่ายสูงสุด๕ อันดับแรก คือ แม่ฮ่องสอน ปราจีนบุรี ภูเก็ต จันทบุรี และสมุทรสงคราม โรคอุจจาระร่างจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)จะพบมากในเด็กเล็กซึ่งเกิดในช่างฤดูหนาว มีระยะฟักตัว ๒ -๓ วัน ลักษณะอาการมักมีไข้ต่ำ ๆน้ำมูก ไอ อาเจียน และมีอาการทางเดินอาหารตามมาอุจจาระเป็นน้ำหากอาการไม่รุนแรงเด็กจะหายได้เองใน ๒ - ๓ วันหรือไม่เกิน๑สัปดาห์ แต่ถ้ามีอาการรุนแรงอาจเกิดภาวะขาดน้ำนำไปสู่ภาวการณ์ช็อกและเสียชีวิตได้การติดต่อระหว่างคนสู่คนโดยการกินการสัมผัสกับคนสิ่งของหรือพื้นผิวต่างๆที่มีการเปื้อนอุจจาระและไม่ทำความสะอาดเช่นของเล่นของใช้ของเด็กทำให้ได้รับเชื้อจากมือที่สกปรกแล้วหยิบเข้าปาก
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ เห็นความสำคัญของโรคดังกล่าวจึงได้จัดทำ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปีงบประมาณ 2561 เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผู้นำชุมชนมีความรู้ และความเข้าใจในสถานการณ์ระบาดวิทยา และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรค ตลอดจนได้ร่วมกันวางแผนงานในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงในตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อันจะส่งให้ผลอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ลดลง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
- 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง
- 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)
วันที่ 8 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียม
- ดำเนินการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง
- ประสานงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
- รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสารต่าง ๆ
ขั้นดำเนินการ
- ดำเนินการจัดอบรมป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
- ติดตามหลังการอบรม เพื่อดูว่าได้นำกิจกรรมไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ขั้นสรุปและประเมินผล
- ประเมินผลหลังการอบรมโดยใช้แบบสอบถาม
- ประเมินผลหลังติดตามหลังการอบรม โดยใช้แบบประเมิน
- สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๘๐ ผู้ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันควบคุมโรคอุจจาระร่วงในครัวเรือน โรงเรียน และชุมชน
0.00
2
2. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง
ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ผู้ที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดี
0.00
3
3. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง (2) 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง (3) 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-2-30
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารียะ สาเมาะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียะ สาเมาะแม
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-2-30 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-2-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคท้องร่วง/ท้องเสีย/ท้องเดิน เป็นสาเหตุสำคัญของความเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของเด็กทั่วโลก ในประเทศกำลังพัฒนาประมาณว่าโรคท้องร่วงเป็นสาเหตุการตาย 17.5 - 21%ของเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี (ประมาณ 1.5 ล้านคนต่อปี) ในปี พ.ศ. 2551 มีรายงานเด็กไทยเสียชีวิตจากโรคท้องร่วง 266 คน องค์การอนามัยโลก และหน่วยงานขององค์การสหประชาชาติตั้งเป้าให้ลดอัตราตายจากโรคท้องร่วงในเด็กลง 2 ใน 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2533 ถึง 2558อย่างไรก็ตาม ในระยะหลังนี้พบว่า การเจ็บป่วยจากโรคท้องร่วงและการเสียชีวิตจาก โรคนี้น้อยลง เนื่องจากสภาวะสุขภาพ และเศรษฐกิจสังคมดีขึ้น แต่โรคท้องร่วงจากเชื้อไวรัสโรตา (Rotavirus) ยังเป็นปัญหาสำคัญอยู่
ข้อมูลที่มีในประเทศไทยของกระทรวงสาธารณสุขในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 พบอุบัติการณ์ของโรคท้องร่วงในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี เพิ่มขึ้นจาก 7,140.9 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปีพ.ศ. 2543เป็น 10,000 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปี พ.ศ. 2553 แต่อัตราตายลดลงจาก 0.35 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปี พ.ศ. 2544 เป็น 0.10 รายต่อประชากร 1 แสนคนในปีพ.ศ. 2555
จากข้อมูลของประเทศไทย พ.ศ. 2553 โรคท้องร่วงในเด็กพบได้ตลอดทั้งปี แต่จะพบมากใน ช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ และในช่วงฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม โรคท้องร่วงที่พบบ่อยในช่วงฤดูหนาว ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยเฉพาะไวรัสโรตา
จากรายงานกระทรวงสาธารณสุขพบว่า จากการเฝ้าระวังโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันตั้งแต่วันที่๑มกราคม – ๓๑ ธันวาคม๒๕๖0มีรายงานว่าพบผู้ป่วย๑,00๗,๔๑๕รายจากทั่วประเทศเสียชีวิต ๔ ราย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ มากกว่า ๖๕ ปี, ๑๕ – ๒๔ปีและ๒๕ – ๓๔ปีจังหวัดที่มีอัตราป่ายสูงสุด๕ อันดับแรก คือ แม่ฮ่องสอน ปราจีนบุรี ภูเก็ต จันทบุรี และสมุทรสงคราม โรคอุจจาระร่างจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)จะพบมากในเด็กเล็กซึ่งเกิดในช่างฤดูหนาว มีระยะฟักตัว ๒ -๓ วัน ลักษณะอาการมักมีไข้ต่ำ ๆน้ำมูก ไอ อาเจียน และมีอาการทางเดินอาหารตามมาอุจจาระเป็นน้ำหากอาการไม่รุนแรงเด็กจะหายได้เองใน ๒ - ๓ วันหรือไม่เกิน๑สัปดาห์ แต่ถ้ามีอาการรุนแรงอาจเกิดภาวะขาดน้ำนำไปสู่ภาวการณ์ช็อกและเสียชีวิตได้การติดต่อระหว่างคนสู่คนโดยการกินการสัมผัสกับคนสิ่งของหรือพื้นผิวต่างๆที่มีการเปื้อนอุจจาระและไม่ทำความสะอาดเช่นของเล่นของใช้ของเด็กทำให้ได้รับเชื้อจากมือที่สกปรกแล้วหยิบเข้าปาก
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ เห็นความสำคัญของโรคดังกล่าวจึงได้จัดทำ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปีงบประมาณ 2561 เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผู้นำชุมชนมีความรู้ และความเข้าใจในสถานการณ์ระบาดวิทยา และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรค ตลอดจนได้ร่วมกันวางแผนงานในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงในตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อันจะส่งให้ผลอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ลดลง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
- 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง
- 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง
- ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus) |
||
วันที่ 8 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียม - ดำเนินการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ - ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง - ประสานงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสารต่าง ๆ ขั้นดำเนินการ - ดำเนินการจัดอบรมป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง - ติดตามหลังการอบรม เพื่อดูว่าได้นำกิจกรรมไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ขั้นสรุปและประเมินผล - ประเมินผลหลังการอบรมโดยใช้แบบสอบถาม - ประเมินผลหลังติดตามหลังการอบรม โดยใช้แบบประเมิน - สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๘๐ ผู้ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันควบคุมโรคอุจจาระร่วงในครัวเรือน โรงเรียน และชุมชน |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ผู้ที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดี |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง (2) 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีการจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในการประกอบอาหารถูกหลักสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงให้ลดลง (3) 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สามารถนำความรู้ ไปแผ่แพร่แก่ชุมชนต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า (Rotavirus)ประจำปี 2561 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-2-30
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารียะ สาเมาะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......