กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการครอบครัวสัมพันธ์ ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ

ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวสัมพันธ์

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L8010-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวสัมพันธ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวสัมพันธ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวสัมพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L8010-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันหลักของสังคมไทยเป็นรากฐานสำคัญต่อการดำรงชีวิตสมาชิกในครอบครัวต้องรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองมีความรักความเอื้ออาทรให้กันและกันอีกทั้งต้องหมั่นดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวสถาบันครอบครัวซึ่งเป็นสถาบันหลักและเป็นต้นทุนทางสังคมที่มีศักยภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม ต่าง ๆ เช่นปัญหาสุขภาพทางกายปัญหาสุขภาพทางจิต ปัญหาความรุนแรงของวัยรุ่นปัญหายาเสพติดเป็นต้นซึ่งปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนชาวไทยไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางร่างกายทางจิตใจและทางสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อมอีกสถาบันหนึ่งที่มีความสำคัญรองมาจากสถาบันครอบครัวคือสถาบันทางการศึกษาซึ่งเด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ใช้เวลาอยู่ในสถาบันการศึกษาซึ่งสถาบันนี้ไม่เป็นเพียงแต่สถาบันที่ให้ความรู้เท่านั้นยังมีความรับผิดชอบดูแลสุขภาพของเด็กและเยาวชนอีกด้วยซึ่งสุขภาพมีส่วนสัมพันธ์กับการศึกษาของเด็กและเยาวชนเป็นอย่างมากหากเด็กมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในครอบครัวและสิ่งแวดล้อมที่อบอุ่นเด็กและเยาวชนจะมีการพัฒนาทางด้านการศึกษาที่ดีขึ้นหากมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ไม่ดีอยู่ในครอบครัวและสิ่งแวดล้อมที่ขาดความอบอุ่นคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนแย่ลงซึ่งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑ได้มุ่งเน้นหลักพัฒนาให้นักเรียนทุกคนเป็นคนเก่งดี และมีความสุขโรงเรียนซึ่งเป็นสถาบันทางการศึกษามีบทบาทที่สำคัญในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนการสอนให้ตอบสนองกับหลักสูตรจึงมีความจำเป็นต้องอาศัยการดูแลช่วยเหลือจากชุมชนเพื่อเป็นวิทยากรหรือแหล่งเรียนรู้ให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบได้ตระหนักถึงปัญหาข้างต้นซึ่งแนวทางการพัฒนาสุขภาพของเด็กควรควบคู่ไปกับการจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นภาครัฐและภาคเอกชนทางโรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนครูผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลละงูเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและรู้เท่าทันโรคใหม่ๆ เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันตนเองและคนในครอบครัว
  2. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ได้มีความรู้ด้านสุขภาพ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติต่อตนเองและคนในครอบครัวได้
  3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเหนียวแน่นระหว่างสถาบันครอบครัวชุมชนสถานศึกษาหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ นำไปสู่การมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและรู้เท่าทันโรคใหม่ๆ เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันตนเองและคนในครอบครัว ๒.นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ได้มีความรู้ด้านสุขภาพ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติต่อตนเองและคนในครอบครัวได้ ๓.สถาบันครอบครัวชุมชนสถานศึกษาหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ มีสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเหนียวแน่น นำไปสู่การมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ กิจกรรมนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพให้นักเรียนโรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ จำนวน 112 คน และผู้ปกครอง จำนวน 150 คน โดยมีการจัดป้ายนิทรรศการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ เช่น การเลือกซื้ออาหารแห้งและอาหารกระป๋อง โรคติดต่อและการป้องกัน โทษของสารปรุงแต่งในอาหาร สาเหตุและอันตรายที่เกิดจากโรคอ้วน ฯลฯ จากการประเมินผลจากการตอบแบบสอบถามก่อนการเข้าชมและหลังการเข้าชมนิทรรศการ พบว่า ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ร้อยละ 58.40 หลังเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้จากการชมนิทรรศการความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 78.95 และจากการติดตามการดูแลสุขภาพของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีการนำความรู้ที่ได้ไปดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ กิจกรรมอบรมความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ หัวข้อ อาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ โดยมีการเชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลมาเป็นวิทยากร ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 150 คน เข้ารับฟังการบรรยาย วิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องหลักการเลือกซื้ออาหารสดอาหารแห้ง อันตรายจากสารปรุงแต่งในอาหารประเภทต่าง ๆ ตลอดการบรรยายวิทยากรให้ผู้เข้ารับการอบรมร่วมกิจกรรมโดยการตอบคำถามเกี่ยวกับสุขภาพ สาธิตการดูแลความสะอาดของร่างกาย สาธิตการล้างมือ ฯลฯ จากการประเมินผลด้วยการทดสอบความรู้ก่อนแลัหลังร่วมกิจกรรม พบว่า ก่อนร่วมกิจกรรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ร้อยละ 54.42 หลังร่วมกิจกรรมมีความรู้ ร้อยละ 87.56  การทำให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมแข่งขันกีฬาครอบครัวสัมพันธ์ กิจกรรมแข่งขันกีฬาครอบครัวสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมการแข่งขันกีฬาและกีฬาพื้นบ้าน ระหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีการร่วมแข่งขันกีฬา เพื่อการมีสุขภาพที่ดี และเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างสถาบันครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยช่วงเช้าจะมีการแข่งขันกีฬาฟุตบอลและกีฬาวอลเลย์บอล โดยแต่ละทีมจะมีผู้เล่นประกอบด้วยผู้ปกครองและนักเรียน ตอนเที่ยงแต่ละกลุ่มสีนำอาหารมารับประทานอาหารร่วมกัน ช่วงบ่ายจะเป็นการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน เช่น วิ่งกระสอบ ตี่ เตย เก้าอี้ดนตรี ฯลฯ จากการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 95.78 มีความพึงพอใจและเสนอแนะให้มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและรู้เท่าทันโรคใหม่ๆ เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันตนเองและคนในครอบครัว
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและรู้เท่าทันโรคใหม่ๆ เพื่อเฝ้าระวังป้องกันตนเองและคนในครอบครัว

     

    2 เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ได้มีความรู้ด้านสุขภาพ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติต่อตนเองและคนในครอบครัวได้
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ได้มีความรู้ด้านสุขภาพ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติต่อตนเองและคนในครอบครัวได้ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

     

    3 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเหนียวแน่นระหว่างสถาบันครอบครัวชุมชนสถานศึกษาหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ นำไปสู่การมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : สถาบันครอบครัวชุมชนสถานศึกษาหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆมีสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเหนียวแน่น นำไปสู่การมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและรู้เท่าทันโรคใหม่ๆ เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันตนเองและคนในครอบครัว (2) เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ได้มีความรู้ด้านสุขภาพ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติต่อตนเองและคนในครอบครัวได้ (3) เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเหนียวแน่นระหว่างสถาบันครอบครัวชุมชนสถานศึกษาหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ นำไปสู่การมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการครอบครัวสัมพันธ์ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L8010-2-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด