โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายปวิตร วณิชชานนท์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L8010-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กรมสุขภาพจิตพบว่า จำนวน 1ใน 5 คนไทยมีปัญหาสุขภาพจิต หรือคิดเป็น 20 %ของประชากร ซึ่งปัญหาทางด้านสุขภาพจิตมีหลากหลายระดับ ตั้งแต่ระดับน้อยจนถึงระดับมาก สำหรับกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการระดับมาก จะส่งผลกระทบทั้งต่อตัวเอง ครอบครัว และสังคม (กรมสุขภาพจิต,2551) โรคจิตคนทั่วไปมักเรียกว่า “คนบ้า” เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางด้านจิตใจ อารมณ์ ผู้ที่ป่วยเป็นโรคจิตมักไม่ยอมรับตนเองว่าป่วยและจะขัดขืนไม่ยอมมารับการรักษาโรคจิต ได้แก่ โรคที่มีความผิดปกติทางด้านความคิดและ อารมณ์ โรคจิตที่เกิดจากการเสพสิ่งเสพย์ติด และโรคจิตจากสมองเสื่อมอาจถึงขั้นเปลือยกาย มีอาการคลุ้มคลั่งและหวาดระแวง เป็นต้น โดยทั่วไปการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคจิตจะรักษาด้วยยาจิตเวช รักษาทางจิตใจ และทางสังคมควบคู่กันไป เพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาอยู่ในสังคมได้ แต่ที่สำคัญที่สุดผู้ป่วยจะต้องได้รับการรักษา อย่างต่อเนื่องและเป็นเวลานาน(ขวัญทิพย์ สุขมาก, 2552) จากนโยบายกรมสุขภาพจิต ตามยุทธศาสตร์ การส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งใน และนอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิตของกรมสุขภาพจิตพบว่าญาติ ผู้ป่วยและชุมชนเป็นภาคีเครือข่ายที่สำคัญในการดูแลปัญหาทางด้านสุขภาพจิตร่วมกัน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถกลับคืนสู่ภาวะปกติได้ นอกจากได้รับการรักษาจากโรงพยาบาล ยังต้องได้รับการดูแลจากครอบครัว และสังคมด้วย(กรมสุขภาพจิต ,2551 )
จากข้อมูลงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลละงู ปี 2556 - 2559 พบว่า จำนวนผู้ป่วยโรคจิตในเขต ตำบลกำแพง มีจำนวนทั้งหมด 134 ราย (69 ราย,77 ราย,81 ราย และ95 รายตามลำดับ)พบว่า อัตราการกำเริบซ้ำของโรค ทำให้ต้องเข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ ในปี 2556มีจำนวน 1 ราย ,ปี 2557 มีจำนวน 1 ราย และในปี 2558 มีจำนวน 4 ราย และปี 2559 มีจำนวน 5 ราย ซึ่งมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น จากการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการกำเริบซ้ำ พบว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดการกำเริบซ้ำของโรคเนื่องจากผู้ป่วยและญาติขาดความรู้และความเข้าใจ เรื่องโรค ไม่เห็นความสำคัญในการรับประทานยา มีการใช้สารเสพติด และสิ่งกระตุ้น เช่น บุหรี่ กาแฟ และส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะบกพร่องในการ ดูแลกิจวัตรประจำวัน การจัดการความเครียดไม่เหมาะสม เช่น ขาดทักษะในการสื่อสารทางสังคมสร้างความวุ่นวายในชุมชน ส่งผลให้ญาติและคนในชุมชน เกิดความเบื่อหน่าย หวาดกลัว ไม่กล้าเข้าใกล้ ไม่ยอมรับ หวาดกลัวผู้ป่วย รู้สึกเป็นภาระ
นอกจากนี้ยังพบอีกว่าปัญหาการพยายามฆ่าตัวตายในเขตตำบลกำแพง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556-2559 มีจำนวนทั้งหมด 18 ราย ( 6 ราย, 2 ราย, 4 ราย, และ6 รายตามลำดับ) และฆ่าตัวตายสำเร็จมีจำนวนทั้งหมด5 ราย (2 ราย,1 ราย,1 ราย,และ 1 ราย ตามลำดับ)ซึ่งส่วนใหญ่พบในช่วงอายุ 20 - 40 ปีจากข้อมูลปัญหาดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ประชาชนในเขตกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูลมีแนวโน้มที่จะส่งผล ด้านปัญหาสุขภาพจิตสูงขึ้นในอนาคต ดังนั้นหน่วยงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลละงู ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาและฟื้นฟูความรู้แกนนำสุขภาพจิตในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน
- เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน มีความรู้ และทักษะในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน (แกนนำสุขภาพจิต) มีการรวมกลุ่มและดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
- ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตตำบลกำแพง อ.ละงู ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง และประธานอาสาสมัครหมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน
ประชุมคณะทำงานเครือข่ายสุขภาพจิต เขตตำบลกำแพง ประกอบด้วย ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 คน จำนวน 12 หมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิต PCU กำแพง และเจ้าหน้าที่งานสุขภาพจิต โรงพยาบาลละงู รวมจำนวน 16 คน ณ ห้องประชุม PCU กำแพง โดยมีวัตถุประสงค์ในการประชุม ดังนี้
1. ประชาสัมพันธ์ ชี้แจง วัตถุประสงค์/กิจกรรมโครงการ ให้ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและผู้ที่เกี่ยวข้อง รับทราบ
2. คืนข้อมูลปัญหาสุขภาพจิต และผู้ป่วยจิตเวช ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง จำนวนผู้ป่วยสุขภาพจิตที่มารับบริการที่โรงพยาบาลละงู แก่ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ในแต่ละหมู่บ้าน รวมทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยด้านสุขภาพจิต
3. อบหมายให้ประธานแต่ละหมู่แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน เข้ารับการอบรมในโครงการดังกล่าว และส่งต่อข้อมูลข่าวสาร
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการดูแล ป้องกันและการจัดการปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน
จากการประเมินโดยชใช้แบบทดสอบประเมินความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ในการทำงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ของผู้เข้ารับการอบรมโดย พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการ ผู้เข้าอบรมมีระดับความรู้อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 71.90 และหลังเข้าร่วมโครงการมีระดับความรู้อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 85.23 จากการประเมินทัศนคติในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชของ อสม. ที่เข้ารับการอบรม โดยการเขียนระบายความรู้สึกลงในบัตรคำรูปหัวใจโดยการตั้งคำถาม " เมื่อต้องดูแลคนไข้จิตเวช คุณรู้สึกอย่างไร " พบว่าทัศนคติของอาสาสมัครในเขตตำบลกำแพง มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วย ยินดีให้ความร่วมมือในการทำงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเยี่ยมและค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชโดยผู้เข้าอบรม
ประเมินการติดตาม เยี่ยมบ้านของอาสาสมัครสาธารณสุขที่เข้ารับการอบรม พบว่า มีการเยี่ยมบ้านติดตามทั้งหมด 12 หมู่บ้าน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ ในผู้ป่วยโรคจิตเภท พบว่า รับยาต่อเนื่อง ร้อยละ 85.92 และพบว่าข้อมูลผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ในปี 2560 (ข้อมูลสะสมตั้งแต่ พ.ศ. 2555 - 2560 จากระบบ Hos-xp โรงพยาบาลละงู) โรคจิตมีจำนวน 134 ราย โรคซึมเศร้า 129 ราย ผู้ป่วยที่พยายามทำร้ายตนเอง แต่ไม่สำเร็จ มีจำนวน 2 ราย สำเร็จ 0 ราย โรคสมาธิสั้น 2 ราย การเข้าถึงโรคสมาธิสั้นยังต่ำอยู่ จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า การยอมรับและการเข้าใจเรื่องโรคของผู้ปกครองยังน้อย และการเชื่อมโยงข้อมูล การบริการและการเข้าถึงการรักษาของโรค ระหว่างโรงเรียนกับหน่วยบริการสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุม
กิจกรรมที่ 4 ถอดบทเรียนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช โดยการประชุมย่อย
จากการประชุมกลุ่ม ร่วมกันถอดบทเรียนจากการอบรมและการติดตามเยี่ยม ดูแลให้การช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต จำนวน 2 ครั้ง พบว่า กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข สามารถบอกความคาดหวังและเป้าหมายในการทำงานได้ สามารถบอกได้ว่าเมื่อพบผู้ป่วยสุขภาพจิตจะทำอย่างไร มีระบบการส่งต่ออย่างไรบ้าง สามารถออกแบบการทำงานในพื้นที่ของตนเองได้ มีองค์ความรู้ที่จะใช้ในพื้นที่การทำงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช เพิ่มความมั่นใจในการทำงานของตนเองได้ดีขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (แกนนำสุขภาพจิต) มีการรวมกลุ่มและดำเนินงานอย่างอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ร้อยละ 80 ในเขตตำบลกำแพง
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มอาสาสมัครหรือผู้นำชุมชนมีความรู้ และทักษะในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม ร้อยละ 80
3
เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (แกนนำสุขภาพจิต) มีการรวมกลุ่มและดำเนินงานอย่างอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ร้อยละ 80 ในเขตตำบลกำแพง
4
เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตตำบลกำแพง อ.ละงู ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน (4) เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายปวิตร วณิชชานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายปวิตร วณิชชานนท์
กันยายน 2560
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลละงู ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L8010-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กรมสุขภาพจิตพบว่า จำนวน 1ใน 5 คนไทยมีปัญหาสุขภาพจิต หรือคิดเป็น 20 %ของประชากร ซึ่งปัญหาทางด้านสุขภาพจิตมีหลากหลายระดับ ตั้งแต่ระดับน้อยจนถึงระดับมาก สำหรับกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการระดับมาก จะส่งผลกระทบทั้งต่อตัวเอง ครอบครัว และสังคม (กรมสุขภาพจิต,2551) โรคจิตคนทั่วไปมักเรียกว่า “คนบ้า” เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางด้านจิตใจ อารมณ์ ผู้ที่ป่วยเป็นโรคจิตมักไม่ยอมรับตนเองว่าป่วยและจะขัดขืนไม่ยอมมารับการรักษาโรคจิต ได้แก่ โรคที่มีความผิดปกติทางด้านความคิดและ อารมณ์ โรคจิตที่เกิดจากการเสพสิ่งเสพย์ติด และโรคจิตจากสมองเสื่อมอาจถึงขั้นเปลือยกาย มีอาการคลุ้มคลั่งและหวาดระแวง เป็นต้น โดยทั่วไปการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคจิตจะรักษาด้วยยาจิตเวช รักษาทางจิตใจ และทางสังคมควบคู่กันไป เพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาอยู่ในสังคมได้ แต่ที่สำคัญที่สุดผู้ป่วยจะต้องได้รับการรักษา อย่างต่อเนื่องและเป็นเวลานาน(ขวัญทิพย์ สุขมาก, 2552) จากนโยบายกรมสุขภาพจิต ตามยุทธศาสตร์ การส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งใน และนอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิตของกรมสุขภาพจิตพบว่าญาติ ผู้ป่วยและชุมชนเป็นภาคีเครือข่ายที่สำคัญในการดูแลปัญหาทางด้านสุขภาพจิตร่วมกัน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถกลับคืนสู่ภาวะปกติได้ นอกจากได้รับการรักษาจากโรงพยาบาล ยังต้องได้รับการดูแลจากครอบครัว และสังคมด้วย(กรมสุขภาพจิต ,2551 ) จากข้อมูลงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลละงู ปี 2556 - 2559 พบว่า จำนวนผู้ป่วยโรคจิตในเขต ตำบลกำแพง มีจำนวนทั้งหมด 134 ราย (69 ราย,77 ราย,81 ราย และ95 รายตามลำดับ)พบว่า อัตราการกำเริบซ้ำของโรค ทำให้ต้องเข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ ในปี 2556มีจำนวน 1 ราย ,ปี 2557 มีจำนวน 1 ราย และในปี 2558 มีจำนวน 4 ราย และปี 2559 มีจำนวน 5 ราย ซึ่งมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น จากการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการกำเริบซ้ำ พบว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดการกำเริบซ้ำของโรคเนื่องจากผู้ป่วยและญาติขาดความรู้และความเข้าใจ เรื่องโรค ไม่เห็นความสำคัญในการรับประทานยา มีการใช้สารเสพติด และสิ่งกระตุ้น เช่น บุหรี่ กาแฟ และส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะบกพร่องในการ ดูแลกิจวัตรประจำวัน การจัดการความเครียดไม่เหมาะสม เช่น ขาดทักษะในการสื่อสารทางสังคมสร้างความวุ่นวายในชุมชน ส่งผลให้ญาติและคนในชุมชน เกิดความเบื่อหน่าย หวาดกลัว ไม่กล้าเข้าใกล้ ไม่ยอมรับ หวาดกลัวผู้ป่วย รู้สึกเป็นภาระ นอกจากนี้ยังพบอีกว่าปัญหาการพยายามฆ่าตัวตายในเขตตำบลกำแพง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556-2559 มีจำนวนทั้งหมด 18 ราย ( 6 ราย, 2 ราย, 4 ราย, และ6 รายตามลำดับ) และฆ่าตัวตายสำเร็จมีจำนวนทั้งหมด5 ราย (2 ราย,1 ราย,1 ราย,และ 1 ราย ตามลำดับ)ซึ่งส่วนใหญ่พบในช่วงอายุ 20 - 40 ปีจากข้อมูลปัญหาดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ประชาชนในเขตกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูลมีแนวโน้มที่จะส่งผล ด้านปัญหาสุขภาพจิตสูงขึ้นในอนาคต ดังนั้นหน่วยงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลละงู ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาและฟื้นฟูความรู้แกนนำสุขภาพจิตในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน
- เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน มีความรู้ และทักษะในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน (แกนนำสุขภาพจิต) มีการรวมกลุ่มและดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
- ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตตำบลกำแพง อ.ละงู ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง และประธานอาสาสมัครหมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน
ประชุมคณะทำงานเครือข่ายสุขภาพจิต เขตตำบลกำแพง ประกอบด้วย ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 คน จำนวน 12 หมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิต PCU กำแพง และเจ้าหน้าที่งานสุขภาพจิต โรงพยาบาลละงู รวมจำนวน 16 คน ณ ห้องประชุม PCU กำแพง โดยมีวัตถุประสงค์ในการประชุม ดังนี้
1. ประชาสัมพันธ์ ชี้แจง วัตถุประสงค์/กิจกรรมโครงการ ให้ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและผู้ที่เกี่ยวข้อง รับทราบ
2. คืนข้อมูลปัญหาสุขภาพจิต และผู้ป่วยจิตเวช ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง จำนวนผู้ป่วยสุขภาพจิตที่มารับบริการที่โรงพยาบาลละงู แก่ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ในแต่ละหมู่บ้าน รวมทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยด้านสุขภาพจิต
3. อบหมายให้ประธานแต่ละหมู่แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน เข้ารับการอบรมในโครงการดังกล่าว และส่งต่อข้อมูลข่าวสาร
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการดูแล ป้องกันและการจัดการปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน
จากการประเมินโดยชใช้แบบทดสอบประเมินความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ในการทำงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ของผู้เข้ารับการอบรมโดย พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการ ผู้เข้าอบรมมีระดับความรู้อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 71.90 และหลังเข้าร่วมโครงการมีระดับความรู้อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 85.23 จากการประเมินทัศนคติในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชของ อสม. ที่เข้ารับการอบรม โดยการเขียนระบายความรู้สึกลงในบัตรคำรูปหัวใจโดยการตั้งคำถาม " เมื่อต้องดูแลคนไข้จิตเวช คุณรู้สึกอย่างไร " พบว่าทัศนคติของอาสาสมัครในเขตตำบลกำแพง มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วย ยินดีให้ความร่วมมือในการทำงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเยี่ยมและค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชโดยผู้เข้าอบรม
ประเมินการติดตาม เยี่ยมบ้านของอาสาสมัครสาธารณสุขที่เข้ารับการอบรม พบว่า มีการเยี่ยมบ้านติดตามทั้งหมด 12 หมู่บ้าน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ ในผู้ป่วยโรคจิตเภท พบว่า รับยาต่อเนื่อง ร้อยละ 85.92 และพบว่าข้อมูลผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ในปี 2560 (ข้อมูลสะสมตั้งแต่ พ.ศ. 2555 - 2560 จากระบบ Hos-xp โรงพยาบาลละงู) โรคจิตมีจำนวน 134 ราย โรคซึมเศร้า 129 ราย ผู้ป่วยที่พยายามทำร้ายตนเอง แต่ไม่สำเร็จ มีจำนวน 2 ราย สำเร็จ 0 ราย โรคสมาธิสั้น 2 ราย การเข้าถึงโรคสมาธิสั้นยังต่ำอยู่ จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า การยอมรับและการเข้าใจเรื่องโรคของผู้ปกครองยังน้อย และการเชื่อมโยงข้อมูล การบริการและการเข้าถึงการรักษาของโรค ระหว่างโรงเรียนกับหน่วยบริการสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุม
กิจกรรมที่ 4 ถอดบทเรียนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช โดยการประชุมย่อย
จากการประชุมกลุ่ม ร่วมกันถอดบทเรียนจากการอบรมและการติดตามเยี่ยม ดูแลให้การช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต จำนวน 2 ครั้ง พบว่า กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข สามารถบอกความคาดหวังและเป้าหมายในการทำงานได้ สามารถบอกได้ว่าเมื่อพบผู้ป่วยสุขภาพจิตจะทำอย่างไร มีระบบการส่งต่ออย่างไรบ้าง สามารถออกแบบการทำงานในพื้นที่ของตนเองได้ มีองค์ความรู้ที่จะใช้ในพื้นที่การทำงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช เพิ่มความมั่นใจในการทำงานของตนเองได้ดีขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน ตัวชี้วัด : กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (แกนนำสุขภาพจิต) มีการรวมกลุ่มและดำเนินงานอย่างอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ร้อยละ 80 ในเขตตำบลกำแพง |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : กลุ่มอาสาสมัครหรือผู้นำชุมชนมีความรู้ และทักษะในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน ตัวชี้วัด : กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (แกนนำสุขภาพจิต) มีการรวมกลุ่มและดำเนินงานอย่างอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ร้อยละ 80 ในเขตตำบลกำแพง |
|
|||
4 | เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตตำบลกำแพง อ.ละงู ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน (4) เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้ป่วยจิตเวช จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายปวิตร วณิชชานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......