กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต


“ โครงการพัฒนาความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ”

ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาดีละห์ สาเต๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปี

ที่อยู่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4119-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4119-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นโรคที่ค่อยๆหายไปจากประเทศไทยเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมและการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนของระบบสาธารณสุขมากยิ่งขึ้นโดยความสำเร็จของวัคซีนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนนั้นขึ้นกับองค์ประกอบสำคัญ 2 ประการ คือ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (Vaccine coverage) สูงและมีประสิทธิผลของวัคซีน (vaccine effectiveness) ดี อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ซึ่งเป็นพื้นที่มีปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนสูงตั้งแต่ก่อนเริ่มมีเหตุการณ์ความไม่สงบนั้นและยังมีความเชื่อทางศาสนาที่ส่งผลต่อการปฏิเสธวัคซีนองค์ประกอบสำคัญทั้ง 2 ประการนี้ยังไม่สมบูรณ์ ปัญหาอุปสรรคจากผู้รับวัคซีนได้แก่ความเชื่อทางศาสนาความรู้ความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการโรคและวัคซีนความเชื่อเรื่องการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตของเด็กหลังได้รับวัคซีนของผู้ปกครองวิถีชีวิตในการประกอบอาชีพของผู้ปกครองที่ไม่เอื้อต่อการนำเด็กมารับวัคซีนการย้ายที่อยู่อาศัยและความพึงพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ เป็นต้น ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเร่งด่วนซึ่งแนวทางแก้ไขปัญหาความไม่ครอบคลุมของการได้รับวัคซีนรวมป้องกันคอตีบบาดทะยักไอกรนคือการอบรมการติดตามควบคุมกำกับและรายงานความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนของเด็กในพื้นที่การนัดหมายเด็กมารับวัคซีนให้ได้ตามระยะเวลาที่ถูกต้องในปี 2559โรงพยาบาลธารโตได้จัดเก็บข้อมูลการได้รับวัคซีนของเด็ก 0 - 5 ปีในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ (43 แฟ้ม)และใช้ข้อมูลวิเคราะห์ความครอบคลุม (ICT) พบว่ามีความครอบคลุมต่ำกว่าร้อยละ 90ปี 2557คิดเป็นร้อยละ 62.27ปี 2558คิดเป็นร้อยละ 68.29ปี 2559คิดเป็นร้อยละ 62.39ปัญหาที่ผ่านมาพบว่าการบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วนขาดการติดตามและคืนข้อมูลการรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนรวมทั้งการติดตามกำกับการบันทึกข้อมูลการประมวลผลความครอบคลุมในระบบฐานข้อมูลยังไม่สมบูรณ์การพัฒนาความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปีให้มีคุณภาพจะส่งผลดีต่อเจ้าหน้าที่เองและต่อเด็กเป็นอย่างมากและงานนี้จะประสบความสำเร็จได้ก็ต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองเด็กด้วยเช่นกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมต่อการรับวัคซีนที่ดี
  2. เพื่อให้กลุ่มประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  3. เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจและรณรงค์กระตุ้นให้เกิดความตระหนักต่อการสร้างเสริมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ข้อมูลนี้สามารถเป็นแนวทางการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองนำเด็กเข้ารับวัคซีนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้เพิ่มขึ้น
    2. ระบบการให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้มีการพัฒนาซึ่งจะนำไปสู่การเพิ่มความครอบคลุมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระยะยาวทำให้อุบัติการณ์และการระบาดของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ลดลง
    3. มีข้อมูลความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนที่สมบูรณ์และสามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการบริการวัคซีนและการจัดบริการร่วมระหว่างภาคส่วนต่างๆ
    4. เพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคประชาสังคม
    5. เด็ก 0 - 5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี มีความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมต่อการรับวัคซีนที่ดี
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้กลุ่มประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจและรณรงค์กระตุ้นให้เกิดความตระหนักต่อการสร้างเสริมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0 - 5 ปี  มีความรู้  เจตคติ  และพฤติกรรมต่อการรับวัคซีนที่ดี (2) เพื่อให้กลุ่มประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (3) เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจและรณรงค์กระตุ้นให้เกิดความตระหนักต่อการสร้างเสริมสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาความครอบคลุมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0 - 5 ปี จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L4119-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาดีละห์ สาเต๊าะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด