กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาร้านอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย ”
ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาดีละห์ สาเต๊าะ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาร้านอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4119-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาร้านอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาร้านอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาร้านอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4119-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อยังคงเป็นปัญหาด้านสาธารณะสุขที่สำคัญจากรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของสำนักงานสาธารณสุขพบว่าโรคอุจจาระร่วงมีอัตราป่วยอยู่ในลำดับ 1ของโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของอำเภอทุกปีในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาในขณะที่โรคอาหารเป็นพิษและโรคบิด (ไม่ระบุชนิด)ก็ติดอยู่ใน 10 ลำดับแรกของโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาตลอด 5 ปีที่ผ่านมาเช่นกันในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาได้ใช้มาตรการหลายด้านเช่นการปรับปรุงทางสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนเป็นต้นซึ่งผลการดำเนินงานสามารถแก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ใช้มาตรการในการปรับปรุงร้านจำหน่ายอาหารโดยได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐานของร้านจำหน่ายอาหารและการตรวจสอบหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียในตัวอย่างอาหารภาชนะและมือผู้สัมผัสอาหารโดยมุ่งหวังให้ร้านอาหารได้จำแหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัยแก่ผู้บริโภคภายใต้ชื่อโครงการว่า "อาหารสะอาด ราชชาติอร่อย"(Clean Food Good Taste)เป็นวิธีการดำเนินงานเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ซึ่งจากผลการดำเนินงานอาหารสะอาดรชชาติอร่อย(Clean Food Good Taste) ในปี 2560ในเขตตำบลธารโตมีร้านอาหารและแผงลอยทั้งหมด 52 ร้านได้รับป้ายทั้งสิ้น 34 ร้านคิดเป็นร้อยละ 65.38ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยบะ 85โดยป้ายฯ มีอายุ 1 ปีจึงเห็นสมควรขยายผลการดำเนินงานไปที่ร้านจำหน่ายอาหารที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์รับรองทั้งในโรงพยาบาลโรงเรียนและร้านจำหน่ายอาหารในหมู่บ้านตำบลและคงความต่อเนื่องของร้านที่เคยได้รับป้ายฯ แล้วให้มีมาตรฐานตามกำหนดและพัฒนาคุณภาพให้ดียิ่งขึ้นต่อไป ในการนี้กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลธารโตได้เล็งเห็นความสำคัญของผู้ประกอบการอาหารและผู้บริโภคจึงได้จัดทำโครงการ "โครงการพัฒนาร้านอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย"เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยได้ตระหนักถึงความสะอาดคำนึงถึงความปลอดภัยต่อผู้บริโภคให้มากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้นให้เจ้าของตลาดปรับปรุงสภาพการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
  2. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลตลาดและการสุขาภิบาลอาหารและมาตรฐานอาหารสะอาดความปลอดภัยในอาหาร
  3. เพื่อให้ประชาชนในตำบลธารโตได้บริโภคอาหารพร้อมปรุงพร้อมบริโภคที่สะอาดปลอดภัย
  4. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100
  5. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการตรวจร้านอาหารและแผงลอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน (CFGT) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85
    2. ร้อยละ 100 โรงอาหารในโรงเรียนผ่านมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CFGT)
    3. อาหารที่จำหน่ายตามร้านอาหารในเขตตำบลธารโตมีความสะอาดปลอดภัยสำหรับการบริโภค
    4. ผู้จำแหน่ายอาหารและผู้บริโภคอาหารมีความตระหนักและให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจำหน่ายอาหารและการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยและให้ความสนใจเกี่ยวกับร้านอาหารที่มีป้ายรับรอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อกระตุ้นให้เจ้าของตลาดปรับปรุงสภาพการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลตลาดและการสุขาภิบาลอาหารและมาตรฐานอาหารสะอาดความปลอดภัยในอาหาร
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อให้ประชาชนในตำบลธารโตได้บริโภคอาหารพร้อมปรุงพร้อมบริโภคที่สะอาดปลอดภัย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    5 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการตรวจร้านอาหารและแผงลอย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นให้เจ้าของตลาดปรับปรุงสภาพการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม (2) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลตลาดและการสุขาภิบาลอาหารและมาตรฐานอาหารสะอาดความปลอดภัยในอาหาร (3) เพื่อให้ประชาชนในตำบลธารโตได้บริโภคอาหารพร้อมปรุงพร้อมบริโภคที่สะอาดปลอดภัย (4) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหาร  ร้อยละ 100 (5) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการตรวจร้านอาหารและแผงลอย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาร้านอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L4119-1-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาดีละห์ สาเต๊าะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด