โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ ”
ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ธารน้ำทิพย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์
มิถุนายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์
ที่อยู่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4129-01-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2561 ถึง 28 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4129-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2561 - 28 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสาเหตุการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน อัมพฤต อัมพาต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และโรคอ้วน เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องดังกล่าวเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ เรื่องการบริโภคอาหาร ขาดการออกกำลังกาย และ อารมณ์เครียด ทำให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา ซึ่งประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของคนในสังคมต้องดิ้นรน และต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของตนเอง ส่งผลให้ชีวิตประจำวันเกิดความเร่งรีบ มีความเครียดสั่งสมจากการทำงาน โอกาสในการออกกำลังกายมีน้อย บริโภคอาหารที่คำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วอิ่มท้อง ต้องพึ่งพาบุหรี่ และแอลกอฮอล์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวล้วนมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของ โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและภาวะโรคอ้วนลงพุง โดยในปัจจุบันประชาชน สามารถเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพได้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต แต่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และลดความเสี่ยงเหล่านี้ยังไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการคัดกรองพบว่าการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสมตลอดจนการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังต่างๆ การค้นหาความเสี่ยงนับว่าเป็นหัวใจสำคัญของการตรวจสุขภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพให้แก่บุคคล จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอเบตง ปี 2559 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด19,430ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 624 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 3.21 กลุ่มป่วย 3,252 คิดเป็นร้อยละ 16.73 และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 20,618 ราย พบกลุ่มเสี่ยง ต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 3,826 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.55 กลุ่มป่วย 5,897ราย คิดเป็นร้อยละ 28.60 และจากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป ปี2560จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด21,180ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 497 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 2.34 กลุ่มป่วย 1,691ราย คิดเป็นร้อยละ 7.98 และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 18,799 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 2,085 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.09 กลุ่มป่วย 4,242ราย คิดเป็นร้อยละ 22.56 ซึ่งมีอัตราที่สูงอยู่ และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าว ได้แก่ ขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้นำมาซึ่งความเจ็บป่วยและการสูญเสียตามมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต
- 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป
- 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น
- ประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค แทรกซ้อน สามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้
- ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต (2) 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป (3) 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4129-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( รพ.สต.ธารน้ำทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ ”
ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ธารน้ำทิพย์
มิถุนายน 2561
ที่อยู่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4129-01-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2561 ถึง 28 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4129-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2561 - 28 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสาเหตุการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน อัมพฤต อัมพาต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และโรคอ้วน เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องดังกล่าวเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ เรื่องการบริโภคอาหาร ขาดการออกกำลังกาย และ อารมณ์เครียด ทำให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา ซึ่งประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของคนในสังคมต้องดิ้นรน และต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของตนเอง ส่งผลให้ชีวิตประจำวันเกิดความเร่งรีบ มีความเครียดสั่งสมจากการทำงาน โอกาสในการออกกำลังกายมีน้อย บริโภคอาหารที่คำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วอิ่มท้อง ต้องพึ่งพาบุหรี่ และแอลกอฮอล์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวล้วนมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของ โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและภาวะโรคอ้วนลงพุง โดยในปัจจุบันประชาชน สามารถเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพได้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต แต่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และลดความเสี่ยงเหล่านี้ยังไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการคัดกรองพบว่าการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสมตลอดจนการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังต่างๆ การค้นหาความเสี่ยงนับว่าเป็นหัวใจสำคัญของการตรวจสุขภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพให้แก่บุคคล จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปในเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอเบตง ปี 2559 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด19,430ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 624 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 3.21 กลุ่มป่วย 3,252 คิดเป็นร้อยละ 16.73 และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 20,618 ราย พบกลุ่มเสี่ยง ต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 3,826 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.55 กลุ่มป่วย 5,897ราย คิดเป็นร้อยละ 28.60 และจากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป ปี2560จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด21,180ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 497 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 2.34 กลุ่มป่วย 1,691ราย คิดเป็นร้อยละ 7.98 และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 18,799 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 2,085 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.09 กลุ่มป่วย 4,242ราย คิดเป็นร้อยละ 22.56 ซึ่งมีอัตราที่สูงอยู่ และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าว ได้แก่ ขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้นำมาซึ่งความเจ็บป่วยและการสูญเสียตามมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต
- 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป
- 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น
- ประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค แทรกซ้อน สามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้
- ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต (2) 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป (3) 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชาวธารน้ำทิพย์ตำบลธารน้ำทิพย์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4129-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( รพ.สต.ธารน้ำทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......