กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมหมู่บ้านนำร่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ”

ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ประทีป ปิ่นทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมหมู่บ้านนำร่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค

ที่อยู่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5181-01-006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2018 ถึง 30 กันยายน 2018


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมหมู่บ้านนำร่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมหมู่บ้านนำร่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมหมู่บ้านนำร่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5181-01-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2018 - 30 กันยายน 2018 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในยุคสมัยที่มีความเจริญทางด้านเทคโนโลยี่การสื่อสารที่ทันสมัยทำให้ประชาชนมีพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนไปจากสมัยก่อนทั้งการเลือกอาหารมาเพื่อบริโภคและอุปโภคแม้แต่การให้เวลากับการสนใจดูแลสุขภาพก็แทบจะน้อยมากไม่ต้องพูดถึงการให้เวลากับการออกกำลังกายจึงส่งผลให้สุขภาพเสียเกิดป่วยด้วยโรคเรื้อรังเป็นจำนวนมากจะเห็นได้จากข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขปีพ.ศ2559 สถิติการป่วยของคนไทยป่วยด้วยโรคติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึงร้อยละ 73 ของประชากรทั้งหมด โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจ พบว่าอัตราตายเท่ากับ28.92 ต่อประชากรแสนคน หรือ เท่ากับ 18,922 คน เฉลี่ยชั่วโมงละ 2 คน ส่วนหลอดเลือดสมองมีอัตราตายสูงสุด และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะปี 57 มีจำนวนตาย 25,114 คน หรือเฉลี่ยทุกๆ 1 ชั่วโมง จะมีคนตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองประมาณ 3 คน นอกจากนั้นยังพบว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังประมาณ 8 ล้านคน เป็นผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายประมาณ 200,000 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปีละกว่า 7,800 ราย จากข้อมูลโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับพบว่าประชากรหมู่6 บ้านใต้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจำนวน107 คน ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 83 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 35 ราย โรคหลอดเลือดสมอง จำนวน4รายและโรคไตจำนวน 5ราย ซึ่งเกิดจากการขาดความรู้ในการบริโภคอาหารให้ถูกวิธี และชุมชนยังมีพฤติกรรมและอุปนิสัยในการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับจัดทำโครงการขยายหมู่บ้านนำร่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคโดยเฉพาะลดเสี่ยงโรคเรื้อรังเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของชาวบ้านในชุมชน ให้มีการทานอาหารที่ถูกหลักตามโภชนาการ ด้วยการปรุงอาหารโดยใช้ผักปลอดสารพิษเป็นองค์ประกอบหลัก และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดเสี่ยงโรคเรื้อรังหลีกเลี่ยงไขมันซึ่งเป็นตัวสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆชาวบ้านสามารถดูแลตนเองและครอบครัวไม่ให้มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้และสร้างแรงกระตุ้นจิตใต้สำนึกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของชุมชนหันมาดูแลสุขภาพให้มีสุขภาพแข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่ง กิโลกรัม ) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
  2. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป( ครึ่ง กิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน
  3. 3.เพื่อให้ชุมชนปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมกรรมการแกนนำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง จำนวน 2 ครั้ง 2.วางแผนกำหนดกิจกรรมที่ดำเนินการโครงการ 3.จัดทำโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาทับ 4.ดำเนินกิจกรรมประชุมให้ความรู้ประชาชน 80 หลังคาเรือน 1. 5.จัดประชุมชาวบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชาวบ้านมีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง 2.เกิดการจัดตั้งชุมชนต้นแบบสุขภาพดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่ง กิโลกรัม ) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 60
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป( ครึ่ง กิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการปรับปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมปรับเปลี่ยนร้อยละ ๗๐
0.00

 

3 3.เพื่อให้ชุมชนปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด
ตัวชี้วัด : 1.ชุมชนปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด ร้อยละ 70 หลังคาเรือน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ3 วันๆละอย่างน้อย  30  นาที  ร่วมกับการกินผัก  ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป  (ครึ่ง กิโลกรัม )  และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง  โรคหัวใจและหลอดเลือด (2) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3วันๆละอย่างน้อย  30  นาที  ร่วมกับการกินผัก  ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป( ครึ่ง กิโลกรัม)  และลดอาหารไขมัน (3) 3.เพื่อให้ชุมชนปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมกรรมการแกนนำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง  จำนวน  2  ครั้ง 2.วางแผนกำหนดกิจกรรมที่ดำเนินการโครงการ 3.จัดทำโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาทับ 4.ดำเนินกิจกรรมประชุมให้ความรู้ประชาชน 80 หลังคาเรือน 1. 5.จัดประชุมชาวบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมหมู่บ้านนำร่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5181-01-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประทีป ปิ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด