กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต
รหัสโครงการ 61-L5181-01-004
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ
วันที่อนุมัติ 20 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 154,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ประทีบ ปิ่นทอง
พี่เลี้ยงโครงการ ดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.035,100.7place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับในปีงบประมาณ 2560 พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 10.1ซึ่งพบว่าจะมีภาวะซีดร่วมด้วย(เกณฑ์มาตรฐานไม่เกินร้อยละ10)และยังส่งผลต่อการเจริญเติบของทารกในครรภ์เมื่อคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500กรัม ร้อยละ7.41ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานไม่เกินร้อยละ7 มีผลต่อการเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกายและสมองสติปัญญา เสี่ยงที่จะมีพัฒนาการตามวัยล่าช้าตามมาด้วยในปีงบประมาณ 2560 พบเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 19รายขาดสารอาหารจำนวน 30คนฉะนั้นการเตรียมความพร้อมในความรู้ในการปฏิบัติตนให้หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์จนถึงอายุ2ปี จึงเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญเป็น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 พัฒนาคุณภาพคลินิกฝากครรภ์ ดังนี้

1.หญิงตั้งครรภได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ >80% 2. หญิงตั้งครรภ์/สามี เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่  80 % 3.หญิงตั้งครรภ์น้ำหนักขึ้นขณะตั้งครรภ์ตามเกณฑ์ร้อยละ90 4.หญิงตั้งครรภ์มีระดับความเข็มข้นของเลือด ครั้งที่2  และใกล้คลอด ร้อยละ90 5.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ90 6.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก2500กรัม ร้อยละ95 7.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ80

0.00
2 เพื่อพัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดี

1.มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 2.เด็กอายุ 9 เดือน – 2 ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 90 3.พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้เรื่องการเลี้ยงดูเด็กมากกว่าร้อยละ70 4.เกิดกระแสทางสังคมในคลินิกสุขภาพเด็กดีในเรื่อง งดขนมขบเคี้ยว /งดการใช้โทรศัพท์ ในเด็ก ร้อยละ 100 5.เด็กผอมลดลงร้อยละ3 6.เด็กเตี้ยลดลงร้อยละ3 7.เด็กร่างกายสมส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ10

0.00
3 เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย

1.ชุมชน  ภาคีเครือข่าย เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินตามแผนงาน มากกว่าร้อยละ 50 ( ประเมินด้วยวิธีการสังเกต) 2.ความร่วมมือ  กระแสตอบรับ  การจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ พอใช้ขึ้นไป 3.ประเมินความพึงพอใจตามแผนงานโครงการ อยู่ในระดับ  ดี- ดีมาก

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 173,050.00 0 0.00
??/??/???? 1.พัฒนาคุณภาพคลินิกฝากครรภ์ 2.เพื่อพัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดี 3. เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย 0 173,050.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.การลงทุนด้านโภชนาการสตรีและเด็กให้ผลตอบแทนกลับคืนมา 50 เท่า 2.เด็กเจริญเติบโตดีพัฒนาการสมวัย ระดับเชาว์ปัญญาดีมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา 3.ลดปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ 4.ลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอันเนื่องมาจากการขาดสารอาหาร

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 2561 00:00 น.