กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ”

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชะมวง (ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านจันนา)

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-50105-02-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของสตรีไทยและพบมากในสตรีช่วงอายุ 30 -70 ปี ร้อยละ 50 ของประชากรทั่วประเทศ และประมาณ 2 ใน 3 ของจำนวนประชากร เป็นกลุ่มวัยทำงานดังนั้นสตรีวัยทำงาน เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม สาเหตุที่ทำให้สตรีเป็นมะเร็งเต้านม มีหลายสาเหตุด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธ์ุ วิถีชีวิตการบริโภค แต่ในขณะเดียวกัน กลุ่มสตรีเป้าหมายหรือทั่วๆ ไป สามารถดูแลและป้องกันตนเอง จากโรคมะเร็งเต้านมได้ ตั้งแต่ในระยะแระ ๆ ด้วยการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องเป็นประจำทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติ ทั้งนี้เพื่อให้ได้รับการรักษาและดูแลได้ตั้งแต่ระยะแรก ๆ ซึ่งมีโอกาสหายขาดได้ ในขณะเดียวกันถ้าไม่มีการดูแลตนเองด้วยการตรวจเต้านมตนเองเป็นประจำแล้ว สตรีที่ไปพบแพทย์เมื่อเป็นมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง ทำให้ขาดโอกาสในการหายจากโรค ซึ่งต้องสูญเสียทรัพยากรในการรักษา ทั้งในด้านส่วนบุคคลและประเทศชาติ คณะอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนา ได้เล็งเห็นความสำคัญ เพื่อส่งเสริมการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นการเฝ้าระวังและดูแลสตรีเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านจันนา จากโรคมะเร็งเต้านม ด้วยการส่งเสริมให้สตรี มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม และมีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เพื่อค้นหาความผิดปกติอย่างถูกต้องเป็นประจำทุกเดือน และหากพบความผิดปกติ ต้องรีบพบบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อรับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มเป็น ซึ่งเป็นการลดภาวะด้านการเจ็บป่วย การรักษา และสิ่งสำคัญ คือ เป็นการเริ่มต้นการสร้างเสริมศักยภาพสตรีเพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยการเริ่มต้น การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพโดยการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
  2. เพื่อให้สตรี อายุ 30 -70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง อย่างถูกต้องและตรวจหลัง ประจำเดือน หมด 3 -7 วัน ทุกเดือน หรือตรวจทุกวันที่เดียวกันของทุกเดือนในกรณีหมดประจำเดือน
  3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่ม ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน
  4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรีที่อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ เรื่อง โรคมะเร็งเต้านมและตระหนักถึงการดูแลการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
    2. ร้อยละ 95 สตรีกลุ่มเป้าหมาย ตรวจคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
    3. ลดอัตราการป่วยโรคมะเร็งเต้านม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

    วันที่ 25 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมการอบรมได้รับความรู้ในการดูแลตัวเองที่ถูกต้องในการตรวจมะเร็งเต้านม

     

    70 70

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงานตามโครงการ  ได้มีการจัดประชุมให้ความรู้ กลุ่มสตรี อายุ 30 - 70 ปี  จำนวน  70  คน  คิดเป็นร้อยละ  100 ก่อนอบรม ทำแบบประเมินความรู้  70  คน
    ทำแบบประเมินความรู้ได้ถูกต้อง  38  คน คิดเป็นร้อยละ  54.28 หลังอบรม ทำแบบประเมินความรู้  70  คน
    ทำแบบประเมินความรู้ได้ถูกต้อง  68  คน คิดเป็นร้อยละ  97.14 เพิ่มขึ้นร้อยละ  42.86 รายละอียดการใช้จ่ายงบประมาณ 1.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  75  คน  จำนวน  1 มื่้อ ๆ ละ 25 บาท            เป็นเงิน  1,875  บาท 2.  ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน  2 ชั่วโมง ๆ ละ 600  บาท                                  เป็นเงิน  1,200  บาท 3.  ค่าถ่ายเอกสารโครงการให้ความรู้ส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง  เป็นเงิน  400  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพโดยการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพโดยการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

     

    2 เพื่อให้สตรี อายุ 30 -70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง อย่างถูกต้องและตรวจหลัง ประจำเดือน หมด 3 -7 วัน ทุกเดือน หรือตรวจทุกวันที่เดียวกันของทุกเดือนในกรณีหมดประจำเดือน
    ตัวชี้วัด : สตรี อายุ 30 -70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง อย่างถูกต้องและตรวจหลัง ประจำเดือน หมด 3 -7 วัน ทุกเดือน หรือตรวจทุกวันที่เดียวกันของทุกเดือนในกรณีหมดประจำเดือน

     

    3 เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่ม ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : พบผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่ม ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน

     

    4 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรีที่อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป
    ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรีที่อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพโดยการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยตนเอง (2) เพื่อให้สตรี อายุ 30 -70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง อย่างถูกต้องและตรวจหลัง ประจำเดือน หมด 3 -7 วัน ทุกเดือน หรือตรวจทุกวันที่เดียวกันของทุกเดือนในกรณีหมดประจำเดือน (3) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่ม ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน (4) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรีที่อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-50105-02-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชะมวง (ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านจันนา) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด