กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่เครือข่ายผู้ดูแล ประจำปี 2561 ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซัลมา การดี

ชื่อโครงการ โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่เครือข่ายผู้ดูแล ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5192-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่เครือข่ายผู้ดูแล ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่เครือข่ายผู้ดูแล ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่เครือข่ายผู้ดูแล ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5192-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 83,035.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กอายุ 3 ปี พ.ศ. 2560 ในพื้นที่อำเภอเทพา พบว่าเด็กมีฟันผุร้อยละ 56.6 ค่าเฉลี่ย 2.9 ซี่ ต่อคน และจากการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กที่มารับบริการในคลินิกเด็กดี ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร จำนวน 106 คน พบว่าเด็กไม่ได้แปรงฟันก่อนนอน จำนวน 98 คน เด็กดื่มนมรสหวาน 85 คน และเด็กรับประทานขนมขบเคี้ยวที่มีน้ำตาล จำนวน 74 คน จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุและสภาวะฟันผุในกลุ่มเด็กเล็กมีปัญหาสูงมากจนน่าเป็นห่วง การที่เด็กมีปัญหาฟันผุ จะทำให้เกิดอาการปวด อันจะส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ พัฒนาการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านบุคลิกภาพในวัยปฐมวัยเป็นอย่างมาก หากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพช่องปาก สอดแทรกความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ปกครอง ให้ตระหนักเห็นว่าเรื่องของสุขภาพช่องปากเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ อาจทำให้ปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กดีขึ้น
ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้ความตระหนักและให้ความสนใจด้านสุขภาพช่องปากในเด็กมากยิ่งขึ้น และเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากเด็กลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนทั้งทันตบุคลากร ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตลอดถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร จึงร่วมกับเทศบาลตำบลลำไพลและหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยมี กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลเทพา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3 จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองได้อย่างยั่งยืนและเผยแพร่สู่ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุโดยการทาฟลูออไรด์วาร์นิช
  2. 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองอย่างเหมาะสม
  3. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก
  4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม
  5. เพื่อสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก
  6. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ดูแลเด็กและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดซื้อจัดจ้าง
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องช่องปากเด็กตามช่วงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 422
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็ก มีความรู้ ความตระหนัก และมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและของเด็กอย่างเหมาะสม
  2. เกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้ผู้มารับบริการได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในหน่วยงานสาธารณสุขในเขตเทศบาลตำบลลำไพล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3
  3. เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อง่ายต่อการติดต่อประสานงาน การติดตามข่าวสารประชาสัมพันธ์
  4. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาล
  5. เด็กได้รับการแปรงฟันย่างสม่ำเสมอและสะอาด ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ปราศจากโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การจัดซื้อจัดจ้าง

วันที่ 1 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.1 จัดตั้งมุมทันตสุขศึกษาเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กตามช่วงอายุ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3
-ค่าสื่อความรู้เรื่องฟัน (นิทานทะลุมิติ) จำนวน 3 ชุด x 350 บาท เป็นเงิน  1,050 บาท
1.2 ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วาร์นิชให้เด็กโดยทันตบุคลากร -ค่าฟลูออไรด์วาร์นิช จำนวน 3 หลอด x 730 บาท เป็นเงิน  2,190 บาท 1.3 อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องช่องปากเด็กตามช่วงอายุ และฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็กแก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3 -ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกทำความสะอาดช่องปากสำหรับเด็กแรกเกิด - 1 ปี จำนวน 187 ชุด x 50 บาท เป็นเงิน  9,350 บาท -ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกทำความสะอาดช่องปากสำหรับผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก จำนวน 187 ชุด x 50 บาท เป็นเงิน  9,350 บาท
-ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกทำความสะอาดช่องปากสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 235 ชุด x 50 บาท เป็นเงิน 11,750 บาท -ป้ายโครงการ จำนวน 3 ป้าย ป้ายละ 800 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็ก มีความรู้ ความตระหนัก และมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและของเด็กอย่างเหมาะสม
  2. เกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้ผู้มารับบริการได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในหน่วยงานสาธารณสุขในเขตเทศบาลตำบลลำไพล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3
  3. เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อง่ายต่อการติดต่อประสานงาน การติดตามข่าวสารประชาสัมพันธ์
  4. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาล
  5. เด็กได้รับการแปรงฟันย่างสม่ำเสมอและสะอาด ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ปราศจากโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ

 

374 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กตามช่วงอายุ

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

2.1  อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กตามช่วงอายุ และฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็กแก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3 -ค่าอาหารกลางวันในการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 422 คน x 60 บาท  เป็นเงิน 25,320 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 422 คน x 50 บาท เป็นเงิน 21,100 บาท
2.2 อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กตามช่วงอายุ และฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็กแก่เจ้าหน้าที่หน่วยงานสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยงานสาธารณสุข จำนวน 1 มื้อ 21 คน x 25 บาท เป็นเงิน      525 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็ก มีความรู้ ความตระหนัก และมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและของเด็กอย่างเหมาะสม
  2. เกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้ผู้มารับบริการได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในหน่วยงานสาธารณสุขในเขตเทศบาลตำบลลำไพล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3
  3. เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อง่ายต่อการติดต่อประสานงาน การติดตามข่าวสารประชาสัมพันธ์
  4. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาล
  5. เด็กได้รับการแปรงฟันย่างสม่ำเสมอและสะอาด ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ปราศจากโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ

 

443 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุโดยการทาฟลูออไรด์วาร์นิช
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของเด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีฟันขึ้นแล้ว ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช
100.00

 

2 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองมีระดับคะแนนของแบบทดสอบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก สามารถสาธิตวิธีการทำความสะอาดช่องปากเด็กได้อย่างถูกต้องตามแบบประเมิน 4 ใน 5 ข้อ 3. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก มีค่าแผ่นคราบจุลินทรีย์เฉลี่ยลดลง
80.00

 

3 เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 เจ้าหน้าที่หน่วยงานสาธารณสุข มีระดับคะแนนของแบบทดสอบหลังให้ความรู้ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเพิ่มขึ้น
100.00

 

4 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีค่าแผ่นคราบจุลินทรีย์เฉลี่ยลดลง
80.00

 

5 เพื่อสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่าน Facebook Line ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร
100.00

 

6 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ดูแลเด็กและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดองค์กรในการทำงานภายในชุมชนเพิ่มขึ้น
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 422
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 422
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุโดยการทาฟลูออไรด์วาร์นิช (2) 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองอย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน 3 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก (4) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างเหมาะสม (5) เพื่อสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก (6) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ดูแลเด็กและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดซื้อจัดจ้าง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องช่องปากเด็กตามช่วงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่เครือข่ายผู้ดูแล ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5192-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซัลมา การดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด