กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส (จิตอาสาประจำครอบครัว) ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางซาลีขอ สาเม๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส (จิตอาสาประจำครอบครัว)

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5192-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส (จิตอาสาประจำครอบครัว) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส (จิตอาสาประจำครอบครัว)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส (จิตอาสาประจำครอบครัว) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5192-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ( Selfcare) ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค และ การส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็น อย่างเสมอภาคเป็นธรรมนั้น การที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวต้องอาศัยกลยุทธ์ที่สำคัญประการหนึ่งคือการมีหมอประจำครอบครัว และระบบสุขภาพที่เอื้อต่อการเข้าถึง เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีญาติเป็นหมอและสามารถพึ่งพาได้ทุกเมื่อ และในขณะเดียวกันภายในครอบครัวและชุมชน ก็มีการดูแลสุขภาพตนเอง ปัจจุบันพบว่าการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของคนในชุมชนลดลง บทบาทที่สำคัญของหมอครอบครัวนอกการดูแลแล้ว การหนุนเสริมให้เกิดการพึ่งตนเองของประชาชน (Empowerment) เป็นอีกบทบาทหนึ่งของหมอครอบครัว ในการเสริมพลังให้ผู้ป่วยหรือญาติ สามารถดูแลตนเองหรือญาติได้อย่างเหมาะสมเพราะแท้จริงแล้ว หมอครอบครัวที่ดีที่สุดคือคนในครอบครัว ญาติมิตรโดยความหมายของหมอครอบครัวคือแพทย์ที่สามารถดูแลรักษาสุขภาพ ให้ทุกคนในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ เบ็ดเสร็จ ผสมผสานและต่อเนื่อง ทั้งสุขภาพกาย, สุขภาพจิตและสุขภาพของสังคมที่สมาชิกในครอบครัวอาศัยอยู่ งานของหมอครอบครัวจะเริ่มตั้งแต่ได้ตรวจดูแลรักษา หรือได้รับการปรึกษาปัญหาของสมาชิกคนใดคนหนึ่งใน ครอบครัว เป็น Index case ซึ่งจะเป็นบุคคลที่จะพาสมาชิกอื่นๆในครอบครัวมาทำความรู้จักกับหมอครอบครัว โดยหมอครอบครัวจะทำหน้าที่ทั้งเป็นแพทย์ที่คอยรักษาป้องกันโรคภัยต่างๆ เป็นครูที่คอยให้คำแนะนำในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพ เป็นเพื่อนรับฟัง-ปรึกษาความคิดเห็นต่างๆของครอบครัว เป็นผู้ติดต่อประสานให้การช่วยเหลือในกรณีที่ต้องปรึกษาหรือส่งต่อผู้ป่วยในครอบครัวที่ดูแล หรือติดต่อประสานงานกับบุคลากรอื่น ที่เกี่ยวข้อง เช่น นักสังคมสงเคราะห์, เจ้าหน้าที่เทศบาล เป็นต้น หมอครอบครัวจึงเป็นผู้ที่ดูแลโรคภัยไข้เจ็บให้สมาชิกในครอบครัวทั้งในกรณีที่การเจ็บป่วยนั้นเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือพิการถ้ามิได้รับการบำบัดรักษา หรือเป็นโรคซึ่งหายเองได้, ป้องกันได้ หรือเกี่ยวข้องกับจิต-อารมณ์และสังคม
ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4, 10 และ 13 จึงได้จัดตั้งทีม “จิตอาสาประจำครอบครัว” ในการเยี่ยมบ้านทั้งในงานส่งเสริมสุขภาพและในผู้ป่วยติดเตียงรวมถึงผู้ป่วยระยะสุดท้าย เป็นการดำเนินงานลักษณะจิตอาสาใกล้บ้านซึ่งพื้นฐานเดิมของ อสม.รู้จักและใกล้ชิดชุมชนอยู่แล้วจึงมีความพยายามสร้างความเข้มแข็งในการลงพื้นที่เพื่อเป็นการดูแลต่อเนื่องร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส(หมอประจำครอบครัว) เพื่อเสริมสร้างพลังแก่ครอบครัวกลุ่มเป้าหมายให้สามารถช่วยเหลือ ดูแลสุขภาพของครอบครัวตนเองได้ โดยมี “จิตอาสาประจำครอบครัว” คอยให้การช่วยเหลือ สนับสนุน โดยมีการพัฒนาทีม FCT, พัฒนาระบบการเยี่ยมบ้านให้มีคุณภาพ มุ่งสู่การบริการแบบไร้รอยต่อ อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วยและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ และ ออกแบบการทำงานร่วมกันของทีมจิตอาสา “จิตอาสาประจำครอบครัว”
  2. 2. เพื่อพัฒนาระบบการเยี่ยมบ้านให้มีคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการ
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ ครอบครัว ชุมชน ให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศสนาอิสลามเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดรูปแบบการเยี่ยมของจิตอาสาตามบริบทพื้นที่ที่มีการวิเคราะห์โดยชุมชน 2.มีการพัฒนาระบบการเยี่ยมของชุมชนอย่างมีคุณภาพ 3.คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม สามารถให้ความช่วยเหลือดูแลคนพิการกันเองในกลุ่ม และสามารถดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ และ ออกแบบการทำงานร่วมกันของทีมจิตอาสา “จิตอาสาประจำครอบครัว”
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ100 ของผู้พิการได้รับการขึ้นทะเบียน และรับสวัสดิการทางการแพทย์ หรือทางสังคม
100.00

 

2 2. เพื่อพัฒนาระบบการเยี่ยมบ้านให้มีคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการ
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 100 ของผู้พิการได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
100.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้ ครอบครัว ชุมชน ให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 100 ของผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลอย่างครบถ้วน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ และ ออกแบบการทำงานร่วมกันของทีมจิตอาสา “จิตอาสาประจำครอบครัว” (2) 2. เพื่อพัฒนาระบบการเยี่ยมบ้านให้มีคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการ (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ ครอบครัว ชุมชน ให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศสนาอิสลามเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส (จิตอาสาประจำครอบครัว) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5192-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซาลีขอ สาเม๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด