กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการชุมชนปลอดโรคมือเท้าปาก เด็กน้อยปลอดภัยมีสุขภาพดี ตำบลมะกรูด ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสากียะห์ เจ๊ะสมอเจ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดโรคมือเท้าปาก เด็กน้อยปลอดภัยมีสุขภาพดี ตำบลมะกรูด

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2985-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดโรคมือเท้าปาก เด็กน้อยปลอดภัยมีสุขภาพดี ตำบลมะกรูด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดโรคมือเท้าปาก เด็กน้อยปลอดภัยมีสุขภาพดี ตำบลมะกรูด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดโรคมือเท้าปาก เด็กน้อยปลอดภัยมีสุขภาพดี ตำบลมะกรูด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2985-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือ เท้า ปากนับว่าเป็นโรคประจำถิ่นในประเทศมาเลเซีย มักจะพบผู้ป่วยตลอดปี และจะพบการระบาดทุกๆ 3 ปี ในสัปดาห์แรกของเดือนมิถุนายน 2560 เจ้าหน้าที่กระทรวงสาธารณสุขรายงานผู้ป่วยสะสมทั่วประเทศ 1,374 ราย ซึ่งสูงกว่าสัปดาห์ที่ผ่านมาในเดือนพฤษภาคม 2560 กระทรวงสาธารณสุข รายงานผู้ป่วยสูงสุด โดยพบผู้ป่วยร้อยละ เกินค่า threshold โดยเป็น 644 รายต่อสัปดาห์ ในจังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นจังหวัดใกล้เคียงกับประเทศมาเลเซียและมีประชากรจำนวนมากเดินทางไปมาเพื่อทำงานและอยู่อาศัยในประเทศมาเลเซียมายาวนาน นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 22 เมษายน 2561 จังหวัดปัตตานีได้รับรายงานผู้ป่วยโรคมือเท้าปาก จำนวนทั้งสิ้น 107 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 15.48 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง เท่ากับ 1.38 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0-4 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 199.13 เมื่อเปรียบเทียบกับมัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี พบว่าในช่วงเดือนมิถุนายนพบสูงกว่าค่ามัธยฐาน ประมาณ 3 เท่า สำหรับอำเภอโคกโพธิ์พบว่า จากข้อมูลสะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561-22 เมษายน 2561 เป็นเมื่อคิดอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 15.9 นับเป็นอันดับ 2 รองลงมาจากอำเภอทุ่งยางแดง มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 39 ราย เป็นเด็กเล็กอายุไม่เกิน 10 ปีทั้งหมด แบ่งออกเป็นที่กำลังศึกษาในโรงเรียนและอยู่ในปกครองปะปนกัน เมื่อตรวจสอบข้อมูลในพื้นที่พบว่าผู้ป่วยหลายรายอยู่ในพื้นที่ตำบลมะกรูด และพบระบาดต่อเนื่องในโรงเรียน ทางทีมสาธารณสุขอำเภอโคกโพธิ์เล็งเห็นความสำคัญต่อสุขภาวะในชุมชน จึงประสานกับเทศบาลมะกรูดเพื่อจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคมือเท้าปากในพื้นที่ให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยสิ่งสำคัญอีกประการที่จะช่วยให้การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในชุมชนประสบความสำเร็จได้นั้นต้องเกิดจากความตระหนัก ความร่วมมือของบุคลากรทุกภาคส่วนและทุกระดับ ทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนและเด็กๆได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมทุกด้าน อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย เอื้อต่อการมีสุขภาพกายและใจดี ควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปากในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป จึงได้จัดทำโครงการชุมชนปลอดโรคมือเท้าปาก เด็กน้อยปลอดภัยมีสุขภาพดี ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ปีพ.ศ.2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน ให้ปลอดภัย ปลอดโรค
  2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยสุขอนามัย
  3. เพื่อให้ อสม.และผู้ปกครองได้รับความรู้และตระหนัก ถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคมือเท้าปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องและจัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชน/ผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแล มีความตระหนักความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก มากขึ้น
  2. ชุมชน/ศพด.โรงเรียน มีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดโรคด้วยตนเอง
  3. ลดการระบาดของมือ เท้า ปาก ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องและจัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพ

วันที่ 23 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เสนอโครงการขออนุมัติ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.จัดทำแผนและดำเนินงานตมโครงการ 4.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในชุมชน โดยติดไวนิลและแจกแผ่นพัน ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ 5.ประเมินผลและสรุปการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ สามารถตอบคำถาม และสามารนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ และป้อกันการการเกิดโรค

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน ให้ปลอดภัย ปลอดโรค
ตัวชี้วัด :
0.50

 

2 เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยสุขอนามัย
ตัวชี้วัด :
1.00

 

3 เพื่อให้ อสม.และผู้ปกครองได้รับความรู้และตระหนัก ถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคมือเท้าปาก
ตัวชี้วัด :
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน ให้ปลอดภัย ปลอดโรค (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยสุขอนามัย (3) เพื่อให้ อสม.และผู้ปกครองได้รับความรู้และตระหนัก ถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคมือเท้าปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องและจัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปลอดโรคมือเท้าปาก เด็กน้อยปลอดภัยมีสุขภาพดี ตำบลมะกรูด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2985-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสากียะห์ เจ๊ะสมอเจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด