โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 ”
ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5259-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดให้หน่วยบริการ จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2559 โดยกำหนดให้สามารถดำเนินการคลอบคลุมตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขฯ พ.ศ.2547 เอกสารแนบท้าย ลงวันที่ 25 มีนาคม 2557 ทุกรายการ
งานสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบจามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆ เช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโหย มีประชากรเด็กอายุ 0 - 5 ปี (ไม่รวมนอกเขต) จำนวน 431 คน เด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ จำนวน 327 คน คิดเป็นร้อยละ 75.87 ได้รับวัคซีนช้ากว่าเกณฑ์อายุ 104 คน คิดเป็นร้อยละ 24.13 และที่ไม่ได้รับวัคซีนเนื่องจากผู้ปกครองไม่ยินยอม 13 คน คิดเป็นร้อยละ 3.02 ซึ่งพบว่ายังเป็นปัญหาในการดูแลสุขภาพของเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโหย ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค จึงจัดทำ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0- 5 ปี เพื่อให้การพัฒนางานสาธารณสุขของตำบลบาโหย มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและแนวโน้มสุขภาพอนามัยอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาในด้านอื่นฯอย่างต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
- เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุด
- เพื่อให้เด็กอายุ 18 เดือน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
- เพื่อสื่อสารชุมชนและสร้างแกนนำด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ ดำเนินการฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 0-5 ปี จนครบตามเกณฑ์ จำนวน 86 คน มีการจัดประกวดเด็กดี วัคซีนครบ และมอบเกียรติบัตรให้เด็ก จำนวน 86 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 18 เดือนมีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
- เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุดเพิ่มขึ้น
- กลุ่มแกนนำวัคซีนในชุมชนสามารถสื่อสารแก่ชุมชน และขับเคลื่อนงานได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ ดำเนินการฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 0-5 ปี จนครบตามเกณฑ์ จำนวน 86 คน มีการจัดประกวดเด็กดี วัคซีนครบ และมอบเกียรติบัตรให้เด็ก จำนวน 86 คน
วันที่ 7 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ
2.ดำเนินการฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 0-5 ปี จนครบตามเกณฑ์ จำนวน 86 คน
3.มีการจัดประกวดเด็กดี วัคซีนครบ และมอบเกียรติบัตรให้เด็ก จำนวน 86 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็กอายุ 18 เดือนมีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
- เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุดเพิ่มขึ้น
- กลุ่มแกนนำวัคซีนในชุมชนสามารถสื่อสารแก่ชุมชน และขับเคลื่อนงานได้
86
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์(คน)
60.00
85.00
2
เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุด
ตัวชี้วัด : ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70
70.00
3
เพื่อให้เด็กอายุ 18 เดือน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85
85.00
4
เพื่อสื่อสารชุมชนและสร้างแกนนำด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : กลุ่มแกนนำวัคซีนในชุมชน จำนวน 1 กลุ่ม ไม่น้อยกว่า 20 คน
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์ (2) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุด (3) เพื่อให้เด็กอายุ 18 เดือน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ (4) เพื่อสื่อสารชุมชนและสร้างแกนนำด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ ดำเนินการฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 0-5 ปี จนครบตามเกณฑ์ จำนวน 86 คน มีการจัดประกวดเด็กดี วัคซีนครบ และมอบเกียรติบัตรให้เด็ก จำนวน 86 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 ”
ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5259-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดให้หน่วยบริการ จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2559 โดยกำหนดให้สามารถดำเนินการคลอบคลุมตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขฯ พ.ศ.2547 เอกสารแนบท้าย ลงวันที่ 25 มีนาคม 2557 ทุกรายการ งานสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบจามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆ เช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโหย มีประชากรเด็กอายุ 0 - 5 ปี (ไม่รวมนอกเขต) จำนวน 431 คน เด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ จำนวน 327 คน คิดเป็นร้อยละ 75.87 ได้รับวัคซีนช้ากว่าเกณฑ์อายุ 104 คน คิดเป็นร้อยละ 24.13 และที่ไม่ได้รับวัคซีนเนื่องจากผู้ปกครองไม่ยินยอม 13 คน คิดเป็นร้อยละ 3.02 ซึ่งพบว่ายังเป็นปัญหาในการดูแลสุขภาพของเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโหย ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค จึงจัดทำ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0- 5 ปี เพื่อให้การพัฒนางานสาธารณสุขของตำบลบาโหย มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและแนวโน้มสุขภาพอนามัยอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาในด้านอื่นฯอย่างต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
- เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุด
- เพื่อให้เด็กอายุ 18 เดือน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
- เพื่อสื่อสารชุมชนและสร้างแกนนำด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ ดำเนินการฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 0-5 ปี จนครบตามเกณฑ์ จำนวน 86 คน มีการจัดประกวดเด็กดี วัคซีนครบ และมอบเกียรติบัตรให้เด็ก จำนวน 86 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 18 เดือนมีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
- เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุดเพิ่มขึ้น
- กลุ่มแกนนำวัคซีนในชุมชนสามารถสื่อสารแก่ชุมชน และขับเคลื่อนงานได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ ดำเนินการฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 0-5 ปี จนครบตามเกณฑ์ จำนวน 86 คน มีการจัดประกวดเด็กดี วัคซีนครบ และมอบเกียรติบัตรให้เด็ก จำนวน 86 คน |
||
วันที่ 7 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
86 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์(คน) |
60.00 | 85.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุด ตัวชี้วัด : ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 |
70.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เด็กอายุ 18 เดือน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 |
85.00 |
|
||
4 | เพื่อสื่อสารชุมชนและสร้างแกนนำด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีน ตัวชี้วัด : กลุ่มแกนนำวัคซีนในชุมชน จำนวน 1 กลุ่ม ไม่น้อยกว่า 20 คน |
20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์ (2) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5ปี เข้าถึงวัคซีนครบชุด (3) เพื่อให้เด็กอายุ 18 เดือน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ (4) เพื่อสื่อสารชุมชนและสร้างแกนนำด้านการป้องกันโรคด้วยวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มีการประชาสัมพันธ์ให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มารับบริการวัคซีนให้ครบ ดำเนินการฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 0-5 ปี จนครบตามเกณฑ์ จำนวน 86 คน มีการจัดประกวดเด็กดี วัคซีนครบ และมอบเกียรติบัตรให้เด็ก จำนวน 86 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสงสารลูกน้อยเฝ้าคอยวัคซีน ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......