โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 ”
ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมปอง ลุ้งบ้าน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2561-L1490-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2561-L1490-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย พบมีการแพร่ระบาดของโรคเกือบทุกจังหวัดของประเทศ ในแต่ละปีพบผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออกจำนวนมากและสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ในปัจจุบันสถานการณ์โรคไข้เลือดออกพบผู้ป่วยได้ตลอดปีและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากปัจจัยทางกายภาพสภาพแวดล้อมที่เป็นชุมชนเมืองมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมในชุมชน เอื้อต่อการเกิดโรคโดยเฉพาะในพื้นที่เขตเมือง ประชากรส่วนมากประกอบอาชีพทำงานนอกบ้าน มีค่าครองชีพสูง ทำงานเพื่อปากท้อง กว่าจะกลับถึงบ้านก็ค่ำมืด ไม่มีเวลาใส่ใจกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกบ้าน เช่น ภาชนะที่น้ำขัง สิ่งของเหลือใช้ที่ถูกทิ้งไม่ได้สนใจ เอื้อต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายให้ยุงลายลงไปวางไข่กลายเป็นลูกน้ำยุงลาย เมื่ออยู่ในน้ำครบ 7-10 วันทำให้มียุงลายตัวเต็มวัยที่พร้อมจะนำเชื้อไข้เลือดออก ถ้าหากมีผู้ป่วยไข้เลือดออกระยะแพร่เชื้อ(เรียกว่า “พาหะนำเชื้อ”ไข้เลือดออก)เข้ามาในบ้าน จะถูกยุงลายกัดและเมื่อยุงลายหิวก็สามารถกัดคนปกติให้กลายเป็นผู้ป่วยไข้เลือดออกได้
ข้อมูลรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ของตำบลโคกหล่อ 3 ปีย้อนหลังคือปี 2557-2559 พบผู้ป่วย 16, 27, 25 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 119.16, 202.59, 181.68 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ (เกณฑ์กระทรวงสาธารณสุข ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร)และตั้งแต่ปี 2556 จังหวัดตรังได้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จในการควบคุมป้องกันโรค คือ เมื่อพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ จะต้องออกเยี่ยมบ้านสอบสวนโรคทันที(ไม่เกิน 24 ชั่วโมง) หลังรับแจ้งผู้ป่วยและต้องไม่ให้พบผู้ป่วยรายที่ 2 ภายใน 28 วัน(Generation ที่ 2) หลังพบผู้ป่วยรายแรก
จากข้อมูลข้างต้น ปัญหาโรคไข้เลือดออกของตำบลโคกหล่อ ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน จะต้องดำเนินการควบคุมโรคทันทีเพื่อลดการแพร่กระจายของโรคแต่ในบางครั้งเมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยไข้เลือดออกแล้ว การควบคุมโรคโดยการพ่นละอองฝอย(ULV)ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที สาเหตุจากปัจจัยด้านเครื่องมือในการปฏิบัติงานที่มีจำกัดไม่พร้อมออกปฏิบัติงานควบคุมโรคได้ทันทีซึ่งโดยหลักการควบคุมและป้องกันโรค จะต้องดำเนินการพ่นหมอกควันหรือพ่นละอองฝอยให้เร็วที่สุดที่ได้รับแจ้งผู้ป่วยหรือพบผู้ที่มีอาการสงสัย จากปัญหาข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ ในฐานะดูแลและรับข้อมูลผู้ป่วยโดยตรงจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกเบื้องต้นสำหรับครัวเรือนที่พบผู้ป่วยเพื่อเป็นการทำลายยุงลายตัวเต็มวัยที่มีเชื้อไข้เลือดออกให้เร็วที่สุด ในบ้านผู้ป่วยเป็นการหยุดการแพร่กระจายโรคในวงกว้างและในบางครั้งจำเป็นต้องมีการออกปฏิบัติงานเชิงรุกทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคที่ถูกต้องในพื้นที่เสี่ยงในตำบล เช่น พื้นที่ชุมชนแออัดที่มีการอาศัยอยู่หนาแน่น พื้นที่เขตก่อสร้างซึ่งมักจะมีแรงงานต่างด้าวเข้ามาอยู่อาศัยจึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกปี 2561นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อยับยั้งการแพร่กระจายโรคไข้เลือดออก
- เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมจัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดโรคใน Generation ที่ 2 (ไม่พบผู้ป่วยรายที่ 2 ภายใน 28 วันหลังพบผู้ป่วยรายแรก)
2.ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อยับยั้งการแพร่กระจายโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยรายที่ 2 ภายใน 28 วันหลังพบผู้ป่วยรายแรก
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : - ภาพเยี่ยมบ้านสอบสวนโรค
- ภาพกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายของบ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อยับยั้งการแพร่กระจายโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมจัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2561-L1490-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมปอง ลุ้งบ้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 ”
ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมปอง ลุ้งบ้าน
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2561-L1490-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2561-L1490-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย พบมีการแพร่ระบาดของโรคเกือบทุกจังหวัดของประเทศ ในแต่ละปีพบผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออกจำนวนมากและสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ในปัจจุบันสถานการณ์โรคไข้เลือดออกพบผู้ป่วยได้ตลอดปีและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากปัจจัยทางกายภาพสภาพแวดล้อมที่เป็นชุมชนเมืองมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมในชุมชน เอื้อต่อการเกิดโรคโดยเฉพาะในพื้นที่เขตเมือง ประชากรส่วนมากประกอบอาชีพทำงานนอกบ้าน มีค่าครองชีพสูง ทำงานเพื่อปากท้อง กว่าจะกลับถึงบ้านก็ค่ำมืด ไม่มีเวลาใส่ใจกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกบ้าน เช่น ภาชนะที่น้ำขัง สิ่งของเหลือใช้ที่ถูกทิ้งไม่ได้สนใจ เอื้อต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายให้ยุงลายลงไปวางไข่กลายเป็นลูกน้ำยุงลาย เมื่ออยู่ในน้ำครบ 7-10 วันทำให้มียุงลายตัวเต็มวัยที่พร้อมจะนำเชื้อไข้เลือดออก ถ้าหากมีผู้ป่วยไข้เลือดออกระยะแพร่เชื้อ(เรียกว่า “พาหะนำเชื้อ”ไข้เลือดออก)เข้ามาในบ้าน จะถูกยุงลายกัดและเมื่อยุงลายหิวก็สามารถกัดคนปกติให้กลายเป็นผู้ป่วยไข้เลือดออกได้ ข้อมูลรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ของตำบลโคกหล่อ 3 ปีย้อนหลังคือปี 2557-2559 พบผู้ป่วย 16, 27, 25 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 119.16, 202.59, 181.68 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ (เกณฑ์กระทรวงสาธารณสุข ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร)และตั้งแต่ปี 2556 จังหวัดตรังได้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จในการควบคุมป้องกันโรค คือ เมื่อพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ จะต้องออกเยี่ยมบ้านสอบสวนโรคทันที(ไม่เกิน 24 ชั่วโมง) หลังรับแจ้งผู้ป่วยและต้องไม่ให้พบผู้ป่วยรายที่ 2 ภายใน 28 วัน(Generation ที่ 2) หลังพบผู้ป่วยรายแรก จากข้อมูลข้างต้น ปัญหาโรคไข้เลือดออกของตำบลโคกหล่อ ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน จะต้องดำเนินการควบคุมโรคทันทีเพื่อลดการแพร่กระจายของโรคแต่ในบางครั้งเมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยไข้เลือดออกแล้ว การควบคุมโรคโดยการพ่นละอองฝอย(ULV)ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที สาเหตุจากปัจจัยด้านเครื่องมือในการปฏิบัติงานที่มีจำกัดไม่พร้อมออกปฏิบัติงานควบคุมโรคได้ทันทีซึ่งโดยหลักการควบคุมและป้องกันโรค จะต้องดำเนินการพ่นหมอกควันหรือพ่นละอองฝอยให้เร็วที่สุดที่ได้รับแจ้งผู้ป่วยหรือพบผู้ที่มีอาการสงสัย จากปัญหาข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ ในฐานะดูแลและรับข้อมูลผู้ป่วยโดยตรงจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกเบื้องต้นสำหรับครัวเรือนที่พบผู้ป่วยเพื่อเป็นการทำลายยุงลายตัวเต็มวัยที่มีเชื้อไข้เลือดออกให้เร็วที่สุด ในบ้านผู้ป่วยเป็นการหยุดการแพร่กระจายโรคในวงกว้างและในบางครั้งจำเป็นต้องมีการออกปฏิบัติงานเชิงรุกทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคที่ถูกต้องในพื้นที่เสี่ยงในตำบล เช่น พื้นที่ชุมชนแออัดที่มีการอาศัยอยู่หนาแน่น พื้นที่เขตก่อสร้างซึ่งมักจะมีแรงงานต่างด้าวเข้ามาอยู่อาศัยจึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกปี 2561นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อยับยั้งการแพร่กระจายโรคไข้เลือดออก
- เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมจัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดโรคใน Generation ที่ 2 (ไม่พบผู้ป่วยรายที่ 2 ภายใน 28 วันหลังพบผู้ป่วยรายแรก) 2.ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อยับยั้งการแพร่กระจายโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยรายที่ 2 ภายใน 28 วันหลังพบผู้ป่วยรายแรก |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ตัวชี้วัด : - ภาพเยี่ยมบ้านสอบสวนโรค - ภาพกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายของบ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อยับยั้งการแพร่กระจายโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมจัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2561-L1490-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมปอง ลุ้งบ้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......